ความจำเป็นที่ต้องแช่ท่อนพันธุ์ ด้วย"ซาร์คอน"(SARCON)
คุณประโยชน์ 3 ประการของสารสำคัญที่มีอยู่ใน "ซาร์คอน"(SARCON)
1. กระตุ้นกระบวนการ Revitalization ระบบเซลล์รากพืช
2. กระตุ้นกระบวนการสร้างภูมิคุ้มกันโรคพืช( Systemic Acquired Resistances: SAR)
3. กระตุ้นการสร้างเกราะป้องกันแมลงและโรค(Agglomeration of Colliods Aggregrate)
(SARCON ไม่ใช่ฮอร์โมนเร่งราก ไม่ใช่สารเคมีฆ่าเพลี้ยฆ่าแมลง
ไม่ใช่สารเคมีกำจัดโรค
แต่เป็นกรดอินทรีย์สังเคราะห์หลายตัวที่ทำหน้าที่ต่างๆต่อกระบวนการทำงานทาง
ชีวเคมี(Biochemistry) และทำหน้าที่ได้หลายๆด้าน) และหนึ่งในนั้นคือกระบวนการ"Revitalize"
เซลล์รากและสร้างสัดส่วนราก"Tuberous root"(รากสะสมอาหาร) กับราก "Fibous
root" (รากหาอาหาร)
ที่เหมาะสมในปริมาณที่มากพอต่อการสร้าง"Tuber"(โดยผ่านกระบวน
การTuberization)
และอีกหนึ่งในนั้นก็คือ "กระบวนการสร้างเกราะป้องกันเพลี้ย"
ด้วย"Orthosilisic acid" ที่แตกตัวเป็นสารในรูป "Polymer"
และเข้าสู่กระบวนการ " Polymerization" จนเปลี่ยนรูปเป็นสาร "Colloids"
และเข้าสู่กระบวนการ"Agglomeration"
เพื่อเปลี่ยนรูปให้เป็นผลึกแข็ง(Colloids Aggregrate)
และถูกเคลื่อนย้ายไปที่"ผนังเซลล์"(Cell Walls) ต่อไป
ผนังเซลล์ก็จะแข็งแบบ"ผนังคอนกรีต" ยากซึ่งที่ปากเพลี้ยจะมาเจาะดูด
แปลงอื่นอาจจะมีเพลี้ยมาเจาะน้ำเลี้ยงได้ง่ายและปล่อยเชื้อไวรัสไว้
แต่เราป้องกันไว้ดีกว่า
การใช้ยาเคมีดูดซึมจะฆ่าเพลี้ยที่เป็นพาหะนำเชื้อไวรัสใบหงิกได้
ตัวเพลี้ยมันตายไปแต่มันก็ปล่อยเชื้อไวรัสไว้ในพืชแล้ว
พืชได้รับเชื้อก็ติดโรคไปแล้ว
ในใบพืช ซิลิคอนจะสะสมมากในชั้นผนังเซลของเซลผิวนอกชนิดต่าง ๆ (epidermal cells) ได้แก่ bulliform cell, Cork cell, guard cell, long cell, micro-hair, prickle hair, silica cell, subsidiary cell และสะสมน้อยในเซลชั้นกลาง (mesophyll cells) และระบบท่อลำเลียง (vascular bundle cells)
และระบบท่อลำเลียง (vascular bundle cells)
ซิลิคอนช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงปกป้องการบุกรุกของศัตรูพืชและสภาพแวดล้อม
เลวร้ายต่าง ๆ ปกติพืชได้รับ Silicon
ทีละน้อยจากการดูดซึมทางรากและเคลื่อนย้ายไปยังผนังเซลที่สะสมซิลิคอน
เมื่อถูกกระตุ้นซิลิคอนจะรวมตัวกันเป็นชั้นโพลิเมอร์ในผนังเซลในรูป silicon
– cellulose membrane ช่วยทำให้ผนังเซลแข็งแรงขึ้นเพื่อป้องกันตนเอง
มีส่วนผสมของกรดซิลิซิคหรือซิลิคอนในรูปที่ละลายน้ำได้
และสามารถซึมผ่านเข้าไปในพืชได้ง่ายและรวดเร็ว
เป็นสารช่วยสร้างความต้านทานโรคและแมลงให้แก่พืช
โดยกรดซิลิซิคในรูปที่ออกฤทธิ์ได้ (Orthosilicic acid)
จะช่วยเสริมสร้างโครงสร้างพืชให้แข็งแรงโดยเฉพาะในชั้นเซลล์
ผิวนอก(Epidermis)
กรดซิลิซิคสะสมในผนังเซลล์และจะรวมตัวเป็นชั้นโพลิเมอร์(polymer)ปกป้องพืช
เมื่อถูกกระตุ้นจากการบุกรุกของโรคและแมลง
กรดซิลิซิคยังช่วยทำลายพิษที่ได้รับจากศัตรูพืชและยังช่วยส่งเสริมการ
สังเคราะห์และการออกฤทธิ์ของสารต้านทานโรคและแมลงที่พืชสร้างขึ้นเองเช่น
phytoalexins, flavonoids เป็นต้น
กรดซิลิซิคที่รวมตัวกันเป็นชั้นของโพลิเมอร์( Layer of Polymers)
เพื่อปกป้องพืช ก็ยังทำหน้าที่ในการทำให้พืชทนทานต่อสภาวะเครียดต่างๆ จาก
ความแห้งแล้ง ความร้อน ความหนาวเย็น ความเค็มของดิน ฯลฯ ได้ดี ทำให้พืช
ทนแล้ง ทนร้อน ทนหนาว ทนเค็มได้ดี
อีกทั้งยังช่วยลดปัญหาดินเปรี้ยวและรักษาความชุ่มชื้นในดินได้
ช่วยให้รากพืชแข็งแรง หาอาหารได้เก่ง
ตลอดจนคุณสมบัติอีกอย่างที่กรดซิลิซิคสามารถทำหน้าที่ได้ดีคือการปลดปล่อย
ธาตุอาหารที่ตกค้างในดินโดยเฉพาะฟอสเฟต
และจับยึดสารพิษตกค้างในดินบางชนิดไม่ให้ถูกดูดซึมเข้าสู่พืชและไปทำลายพืช
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น