FB

fbq('track', 'ViewContent');

วันพุธที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

การป้องกันไวรัสพืช ด้วยกระบวนการสร้างภูมิต้านทานโรคสำหรับพืช (SAR)


"วัคซีน"( Vaccine) เป็นสิ่งสำคัญไม่ว่าจะในพืช,ในสัตว์ หรือในคนเราก็ตามที เพราะปัจจุบันนี้ดินฟ้าอากาศของโลกมันเปลี่ยนแปลงไป ภัยจากเชื้อโรคร้ายใหม่ๆก็มีเพิ่มขึ้นมาอย่างมากมายหลายชนิด และก็ไม่รู้ว่ามันจะมาเล่นงานเมื่อไหร่ไม่มีใครรู้ล่วงหน้า การป้องกันโรคไว้ก่อนเป็นดีที่สุดเพื่อความปลอดภัย ด้วยการทำ "วัคซีน" หรือการกระตุ้นการ
สร้างภูมิต้านทานโรค จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งและไม่ควรนิ่งนอนใจ
"Systemic Acquired Resistance" (SAR) : กระบวนการสร้างภูมิต้านทานโรคสำหรับพืช
ด้วยความปรารถนาดีจาก: วัคซีนพืช ตรา ผีเสื้อมรกต ที่เกษตรกรมั่นใจมานานกว่า 15 ปี



แนวทางป้องกันปัญหาสำหรับไวรัสพืช
แนวทาง 2 แนวทาง ได้แก่

1. ป้องกันแมลงพาหะ 
- ขับไล่แมลงพาหะ ( Insect  Vector ) ที่ทำให้เกิดโรคไวรัสพืช ด้วย "ซิกน่า" ( ZIGNA )
  ซึ่งมีกรดอินทรีย์หลายชนิดที่ทำหน้าที่ในการส่งสัญญาณขับไล่แมลงต่างๆ ( ISR )  และยังมีกรด อะมิโน และธาตุอาหารรองและ     เสริมหลายตัว อาทิ มีแคลเซียม แมกนีเซียม และสังกะสีในรูปโมเลกุลเล็ก ที่พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ทันที  


- สร้างเกราะป้องกัน โดยสร้างผนังอันแข็งแกร่ง "แข็ง..จนเจาะไม่เข้า " ด้วย "ซาร์คอน" ( SARCON )
  เพื่อเป็นเกราะป้องกันแมลงจะเข้ามาเจาะดูดน้ำเลี้ยงและปล่อยเชื้อไวรัสไว้ในพืช 



2. ป้องกันเชื้อไวรัส ด้วยการกระตุ้นการสร้างภูมิต้านทานเชื้อโรค (Systemic  Acquired  Resistance) : SAR  
ด้วย " อีเรเซอร์-วัน" ( ERASER-1 )
- กรณีที่ใช้ยับยั้งและควบคุมเชื้อไวรัส ให้ฉีดพ่นทุก ๆ 7 - 10 วันครั้ง ตั้งแต่ย้ายกล้าปลูก เพราะ"อีเรเซอร์-1" จะเป็นทั้งวัคซีนต้านไวรัสและเป็นตัวฆ่า เชื้อรา ไวรัส แบคทีเรีย และสาหร่ายที่ทำให้เกิดโรคพืช 
- กรณีที่ใช้เมื่อพบการระบาดของเชื้อโรคแล้วในระยะแรก (ในระยะเริ่มต้น) ให้ฉีด ทุก ๆ 3 - 5 วันครั้ง ประมาณ  3-4 ครั้ง   แล้วค่อยเว้นเป็น 7 - 10 วันครั้ง 






1) หยุดไวรัสพืช ด้วย ORG- Model
พืชต่างๆ อาทิ มะละกอ ยาสูบ พริก มะเขือเทศ พืชตระกูลแตง ฯลฯ ที่ถูกไวรัสเข้าทำลายและระบาดหนักส่งผลให้ปริมาณผลผลิตเกิดความเสียหาย เกษตรกรเกิดภาวะขาดทุน และเกษตรกรก็ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้มีแต่ต้องเสียหายและทำลายทิ้ง การแก้ปัญหาไวรัสพืชที่เกิดขึ้น ถ้าเราเข้าใจกระบวนการและกลไกในการดูแลและป้องกันปัญหามันยังมีทางออก เพื่อหยุดความสูญเสียรายได้จากความเสียหายตรงนี้ เราลองมาศึกษาวิธีที่เป็นไปได้ภายใต้ "องค์ความรู้" ใหม่ๆกันดีไหม
มาทำความรู้จักกับ โรคไวรัสพืช กันเถอะ



หลักการหยุดไวรัสพืช ตามหลักการและแนวทางของ..ออร์กาเนลไลฟ์
กระบวนการ Systemic Acquired Resisitance (SAR) : นวัตกรรมใหม่ในการหยุดยั้ง ไวรัสพืชต่างๆ ทั้ง ใบด่าง ใบหด ใบหงิก ใบงอ ใบจู๋

 1. อาศัยกลไกในการทำงานของ Systemic Acquired Resistance (SAR)
SAR  เป็นระบบป้องกันตัวเองของพืชตามธรรมชาติ ซึ่งจะถูกกระตุ้นเมื่อเชื้อโรค ทั้งเชื้อรา แบคทีเรีย และไวรัส ที่เข้าทำลายพืชทำให้เกิดบาดแผลพืชจะเกิดการการตอบสนองอย่างฉับพลัน Hypersensitive Response (HR) และหลั่งสารSalicylic acid  ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นสัญญาณ(SAR Signal) โดยผ่าน SA-Signaling Pathwayส่งสัญญาณไปยังเซลล์ต่างๆทั่วทั้งต้นพืช  กระตุ้นให้ยีนต้านทานโรค (PR-Genes) สร้างโปรตีนต้านทานโรคตัวหนึ่งขึ้นมา(PR-Proteins) ที่ทำหน้าที่เป็นสารควบคุมและฆ่าเชื้อโรคหลายๆชนิด ทำให้พืชมีภูมิต้านทานโรค และสามารถรักษาโรคและป้องกันการเกิดโรคที่มีสาเหตุมาจากเชื้อรา แบคทีเรียและไวรัสได้ ก่อนที่เชื้อโรคจะลุกลามไปทั่วทั้งลำต้น
กระบวนการ SAR

2. อาศัยกลไกในการทำงานของ  Induced Systemic Resistance (ISR)  โดยผ่าน JA-Signaling Pathwayด้วยการส่งสัญญาณเพื่อสร้างสารต่อต้านเชื้อโรค ในกลุ่มของ Defense Proteins หลายๆชนิดอาทิ Defensins, Basic PR-Proteins ( อยู่ในช่องว่างในเซลล์ Vacuole) , Hevein-like Proteins, Thionins etc.

3. อาศัยกลไกในการทำงานของ  Induced Systemic Resistance (ISR)  โดยผ่าน JA-Signaling Pathwayด้วยการส่งสัญญาณเพื่อสร้างสารต่อต้านแมลง ซึ่งสารต่อต้านแมลงอาจแบ่งได้เป็นหลักๆ 3 กลุ่ม อาทิ
กลุ่มที่ 1 กลุ่ม Alkaloids อาทิ Saponin, Nicotine ฯลฯ ที่มีผลต่อระบบประสาทของแมลง และเอ็นไซม์ต่างๆ
กลุ่มที่ 2 กลุ่ม Proteinase Inhibitors มีผลต่อเอนไซม์ในระบบการย่อยของแมลง ทำให้เกิดอาการขาดอาหารที่มีผลต่อการเจริญเติบโตในแมลง
กลุ่มที่ 3 กลุ่ม Volatile Signal  อาทิ Terpines , Indoles, Phenolics ฯลฯ เป็นสารระเหยที่ส่งสัญญาณในการขับไล่แมลงโดยตรง หรือทางอ้อมโดยสารระเหยที่ส่งสัญญาณล่อแมลง Predators (แมลงล่าเหยื่อ) เพื่อมากำจัดแมลงศัตรูพืช


  4. การให้ธาตุอาหารพืชบางตัวที่จำเป็น อาทิ แคลเซียม(Ca) เพื่อช่วยให้ผนังเซลล์ของพืชแข็งแรง ทำให้ขบวนการสร้างภูมิต้านทานโรคและแมลงดีขึ้น  และ สังกะสี(Zn) เพื่อช่วยในขบวนการสังเคราะห์สารต่อต้านโรคและแมลงและช่วยขบวนการส่งสัญญาณต่อต้านโรคและแมลงให้ดีขึ้น
   เพื่อเป็นสารตั้งต้น( Precursor ) ในการสร้างโปรตีนบางตัวในการต่อต้านโรคและแมลง และยังช่วยในการให้พลังงานแก่พืชด้วย  หรือการให้สาร Malate Compounds ซึ่งเป็นสารตั้งต้น(Precursors) ในการสร้างสารต่อต้านโรคและมลงต่างๆ อาทิ สาร Alkaloids, Volatile Signals เป็นต้น

5. พืชที่ถูกทำลายโดยเชื้อไวรัส  ทำให้ท่ออาหารและท่อน้ำเลี้ยงของพืชอาจอุดตัน เสื่อมประสิทธิภาพลง จำเป็นต้องฟื้นฟูด้วยการให้อาหารทางใบ ซึ่งพืชจะได้รับสารอาหารทางปากใบโดยตรง และเข้าสู่กระบวนการปรุงอาหารเพื่อไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว พืชจึงฟื้นตัวได้รวดเร็ว โดยการใช้สารให้พลังงานและอาหารพืชสำเร็จรูปที่จำเป็น อาทิ Monosaccharide , Amino acid , Organic acid ฯลฯ


แนวทางการแก้ปัญหาไวรัสพืช ในระบบ ORG-Model  By Organellelife

1.  ซิกน่า ออล อิน วัน( ZIGNA All in One ) 
 สารส่งสัญญาณในการต่อต้านโรคและแมลงต่างๆ( Cell Signalingin Resistance of Plant for Pathogen& Insect ) ทำงานผ่านระบบ SAR และ ISR ซึ่งมีส่วนผสมของสารสำคัญในขบวนการ SA-Signaling Pathway และขบวนการ JA-Signaling Pathway และธาตุอาหารสำคัญบางตัวอาทิ Ca , Znและสารสำคัญบางตัว อาทิ Amino acid , Malate Compounds เป็นต้น




.

"จะเข้าไปปล่อยเชื้อไวรัสร้ายในพืชของพวกเขาเมื่อไหร่ ก็โดนสัญญาณ"ขับไล่"ออกมาทุกที ทำอย่างไรกันดีพวกเรา
แล้วแบบนี้เราจะเข้าไปปล่อยเชื้อไวรัสร้ายในพืชพวกเขาได้อย่างไรกันล่ะเนี่ย ลำบากซะแล้วพวกเรา พวกเขารู้ทันเราหมดแล้ว
แหม..พวกเราหลงดีใจมานาน เพราะที่ผ่านๆมาพวกเขาชอบใช้สารเคมีฆ่าเรา เราตาย แต่เราก็ได้ปล่อยเชื้อร้ายไว้ในพืชของพวกเขาแล้ว เอาชนะเราไม่ได้หรอก สมน้ำหน้า อิอิ แต่ตอนนี้ซิ เขามี"ซิกน่า" เหมือนฆ่าเราทั้งเป็นเลยนะจะบอกให้


ZIGNA : ซิกน่า
1) อาศัยกลไกในการทำงานของ Induced Systemic Resistance (ISR) โดยผ่าน JA-Signaling Pathwayด้วยการส่งสัญญาณเพื่อสร้างสารต่อต้านเชื้อโรค ในกลุ่มของ Defense Proteins หลายๆชนิดอาทิ Defensins, Basic PR-Proteins ( อยู่ในช่องว่างในเซลล์ Vacuole) , Hevein-like Proteins, Thionins etc.

2) อาศัยกลไกในการทำงานของ Induced Systemic Resistance (ISR) โดยผ่าน JA-Signaling Pathwayด้วยการส่งสัญญาณเพื่อสร้างสารต่อต้านแมลง ซึ่งสารต่อต้านแมลงอาจแบ่งได้เป็นหลักๆ 3 กลุ่ม อาทิ
กลุ่มที่ 1 กลุ่ม Alkaloids อาทิ Saponin, Nicotine ฯลฯ ที่มีผลต่อระบบประสาทของแมลง และเอ็นไซม์ต่างๆ
กลุ่มที่ 2 กลุ่ม Proteinase Inhibitors มีผลต่อเอนไซม์ในระบบการย่อยของแมลง ทำให้เกิดอาการขาดอาหารที่มีผลต่อการเจริญเติบโตในแมลง
กลุ่มที่ 3 กลุ่ม Volatile Signal อาทิ Terpines , Indoles, Phenolics ฯลฯ เป็นสารระเหยที่ส่งสัญญาณในการขับไล่แมลงโดยตรง หรือทางอ้อมโดยสารระเหยที่ส่งสัญญาณล่อแมลง Predators (แมลงล่าเหยื่อ) เพื่อมากำจัดแมลงศัตรูพืช

3) การให้ธาตุอาหารพืชบางตัวที่จำเป็น อาทิ แคลเซียม(Ca) เพื่อช่วยให้ผนังเซลล์ของพืชแข็งแรง ทำให้ขบวนการสร้างภูมิต้านทานโรคและแมลงดีขึ้น และ สังกะสี(Zn) เพื่อช่วยในขบวนการสังเคราะห์สารต่อต้านโรคและแมลงและช่วยขบวนการส่งสัญญาณต่อต้านโรคและแมลงให้ดีขึ้น
เพื่อเป็นสารตั้งต้น( Precursor ) ในการสร้างโปรตีนบางตัวในการต่อต้านโรคและแมลง และยังช่วยในการให้พลังงานแก่พืชด้วย หรือการให้สาร Malate Compounds ซึ่งเป็นสารตั้งต้น (Precursors) ในการสร้างสารต่อต้านโรคและมลงต่างๆ อาทิ สาร Alkaloids, Volatile Signals เป็นต้น

4) พืชที่ถูกทำลายโดยเชื้อไวรัส ทำให้ท่ออาหารและท่อน้ำเลี้ยงของพืชอาจอุดตัน เสื่อมประสิทธิภาพลง จำเป็นต้องฟื้นฟูด้วยการให้อาหารทางใบ ซึ่งพืชจะได้รับสารอาหารทางปากใบโดยตรง และเข้าสู่กระบวนการปรุงอาหารเพื่อไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว พืชจึงฟื้นตัวได้รวดเร็ว โดยการใช้สารให้พลังงานและอาหารพืชสำเร็จรูปที่จำเป็น อาทิ Monosaccharide , Amino acid , Organic acid ฯลฯ

นี่คือ..แนวทางเบื้องต้นในการป้องกันเชื้อไวรัสที่จะเข้ามาสู่พืชของเรา แบบปลอดภัยไร้สารพิษ โดยไม่ใช้สารเคมีฆ่าเพลี้ยหรือฆ่าแมลงที่แนะนำกันมาตามตำราพันปี ถ้าเรายังฝังใจกับการใช้สารเคมีดูดซึมชนิดรุนแรงเพื่อฆ่าแมลงพาหะ เราไม่มีวันชนะมันอย่างแน่นอน ฆ่ามันตายได้ก็หลังจากที่มันเข้ามาดูดกินน้ำเลี้ยงจากพืชเป็นอาหารและต้องตายไปเพราะรับพิษร้ายจากสารเคมีที่เราฉีดไว้ แต่ตัวแมลงพาหะเองก็ได้ดูดซึมยาเข้าไปแล้วและก็ต้องตายไป แต่ในขณะเดียวกัน..เชื้อไวรัสก็ได้ถูกปล่อยไว้ในต้นพืชนั้นที่มันไปดูดกินน้ำเลี้ยงไว้แล้ว พืชก็ต้องติดเชื้อร้ายแห่งไวรัส แมลงพาหะมา 1,000 ตัวมาดูดกินน้ำเลี้ยงพืช 1,000 ต้น ถึงตัวแมลงพาหะมันจะตายไปแต่เชื้อร้ายก็ยังคงอยู่ และพืชทั้ง 1,000 ต้นก็ไม่พ้นต้องติดเชื้ออยู่ดี แต่ถ้ามันมี"ภูมิต้านทาน"(วัคซีน) จากกระบวนการ SAR ก็โชคดีไป เพราะมันก็ สามารถ "เอาอยู่" หรือควบคุมอยู่ พืชก็ปลอดภัยแม้จะรับเชื้อร้ายไว้ ก็ควบคุมอยู่ และสิ่งที่สำคัญและดีที่สุดคือพยายามอย่างไรที่จะไม่ให้มันเข้ามาปล่อยเชื้อร้ายแก่พืชเราได้ ก็ต้องหาวิธีขับไล่ วิธีไหนดี "ขับไล่" ไปไกลๆให้ได้ซิ ขับไล่ไปให้ได้มากที่สุด อาจจะมีแมลงพาหะพวกเกเร หัวแข็ง หลุดเข้ามาบ้างก็ไม่เป็นไร แต่ขอให้ส่วนใหญ่เราขับไล่มันไปให้ได้มากที่สุด พืชเราก็จะปลอดภัย คงต้องใช้หลายๆวิธีร่วมกัน
ฝากไว้ครับว่า "การป้องกันสำคัญที่สุด"
จำไว้เลยครับ

http://paccapon.blogspot.com/2015/07/blog-post_8.html
http://paccapon.blogspot.com/2015/06/blog-post_26.html
http://paccapon.blogspot.com/2015/12/systemic-acquired-resisitance-sar.html







2. ซาร์คอน ( SARCON) 
เพื่อจุดประสงค์ที่สำคัญคือ
2. 1. กระตุ้นกระบวนการ Revitalization ระบบเซลล์ของพืช อาทิ การฟื้นฟูเซลล์และสร้างเซลล์ใหม่  การบำรุงเซลล์ให้สมบูรณ์ ไม่แบ่งเซลล์ที่ผิดปกติ  การซ่อมแซมเซลล์ที่สึกหรอ

2.2. กระตุ้นกระบวนการสร้างภูมิคุ้มกันโรคพืช( Systemic Acquired Resistances: SAR) อาทิ ป้องกันโรครากเน่า-หัวเน่า โรคใบไหม้ต่างๆ

2.3 กระตุ้นการสร้างเกราะป้องกันแมลงและโรค(Agglomeration of Colliods Aggregrate) อาทิ ป้องกันเพลี้ยแป้ง


และหนึ่งในนั้นก็คือ "กระบวนการสร้างเกราะป้องกันเพลี้ย" ด้วย "Orthosilisic acid" ที่แตกตัวเป็นสารในรูป"Polymer" และเข้าสู่กระบวนการ" Polymerization" จนเปลี่ยนรูปเป็นสาร "Colloids" และเข้าสู่กระบวนการ"Agglomeration" เพื่อเปลี่ยนรูปให้เป็นผลึกแข็ง(Colloids Aggregrate) และถูกเคลื่อนย้ายไปที่"ผนังเซลล์"(Cell Walls) ต่อไป ผนังเซลล์ก็จะแข็งแบบ"ผนังคอนกรีต" ยากซึ่งที่ปากเพลี้ยจะมาเจาะดูด แปลงอื่นอาจจะมีเพลี้ยมาเจาะน้ำเลี้ยงได้ง่ายและปล่อยเชื้อไวรัสไว้ แต่เราป้องกันไว้ดีกว่า การใช้ยาเคมีดูดซึมจะฆ่าเพลี้ยที่เป็นพาหะนำเชื้อไวรัสใบหงิกได้ ตัวเพลี้ยมันตายไปแต่มันก็ปล่อยเชื้อไวรัสไว้ในพืชแล้ว พืชได้รับเชื้อก็ติดโรคไปแล้วเมื่อพืชได้รับ "ซาร์คอน" (SARCON) ในใบพืช ซิลิคอนจะสะสมมากในชั้นผนังเซลของเซลผิวนอกชนิดต่าง ๆ (epidermal cells) ได้แก่ bulliform cell, Cork cell, guard cell, long cell, micro-hair, prickle hair, silica cell, subsidiary cell และสะสมน้อยในเซลชั้นกลาง
(mesophyll cells) และระบบท่อลำเลียง (vascular bundle cells) และระบบท่อลำเลียง (vascular bundle cells) ซิลิคอนช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงปกป้องการบุกรุกของศัตรูพืชและสภาพแวดล้อมเลวร้ายต่าง ๆ ปกติพืชได้รับ Silicon ทีละน้อยจากการดูดซึมทางรากและเคลื่อนย้ายไปยังผนังเซลที่สะสมซิลิคอน เมื่อถูกกระตุ้นซิลิคอนจะรวมตัวกันเป็นชั้นโพลิเมอร์ในผนังเซลในรูป silicon – cellulose membrane ช่วยทำให้ผนังเซลแข็งแรงขึ้นเพื่อป้องกันตนเอง
มีส่วนผสมของกรดซิลิซิคหรือซิลิคอนในรูปที่ละลายน้ำได้ และสามารถซึมผ่านเข้าไปในพืชได้ง่ายและรวดเร็ว เป็นสารช่วยสร้างความต้านทานโรคและแมลงให้แก่พืช โดยกรดซิลิซิคในรูปที่ออกฤทธิ์ได้ (Orthosilicic acid) จะช่วยเสริมสร้างโครงสร้างพืชให้แข็งแรงโดยเฉพาะในชั้นเซลล์ผิวนอก(Epidermis) กรดซิลิซิคสะสมในผนังเซลล์และจะรวมตัวเป็นชั้นโพลิเมอร์(polymer)ปกป้องพืชเมื่อถูกกระตุ้นจากการบุกรุกของโรคและแมลง กรดซิลิซิคยังช่วยทำลายพิษที่ได้รับจากศัตรูพืชและยังช่วยส่งเสริมการสังเคราะห์และการออกฤทธิ์ของสารต้านทานโรคและแมลงที่พืชสร้างขึ้นเองเช่น phytoalexins, flavonoids เป็นต้น

กรดซิลิซิคที่รวมตัวกันเป็นชั้นของโพลิเมอร์( Layer of Polymers) เพื่อปกป้องพืช ก็ยังทำหน้าที่ในการทำให้พืชทนทานต่อสภาวะเครียดต่างๆ จาก ความแห้งแล้ง ความร้อน ความหนาวเย็น ความเค็มของดิน ฯลฯ ได้ดี ทำให้พืช ทนแล้ง ทนร้อน ทนหนาว ทนเค็มได้ดี อีกทั้งยังช่วยลดปัญหาดินเปรี้ยวและรักษาความชุ่มชื้นในดินได้ ช่วยให้รากพืชแข็งแรง หาอาหารได้เก่ง ตลอดจนคุณสมบัติอีกอย่างที่กรดซิลิซิคสามารถทำหน้าที่ได้ดีคือการปลดปล่อยธาตุอาหารที่ตกค้างในดินโดยเฉพาะฟอสเฟต และจับยึดสารพิษตกค้างในดินบางชนิดไม่ให้ถูกดูดซึมเข้าสู่พืชและไปทำลายพืช

..

"ผนังใบพืชอะไร ทำไม..มันแข็งจัง
เจาะเท่าไรก็ไม่เข้า แล้วเราจะปล่อยเชื้อไวรัสเข้าไปในพืชพวกเขาได้อย่างไรกัน"
เจอผนังใบพืชแข็งๆอย่างนี้ ลำบากแล้วพวกเรา เพราะพวกเขารู้ทันเราหมดแล้ว เขาไม่ใช้สารเคมีมาฆ่าเรา แต่เขาสร้าง "เกราะป้องกัน" ซะแข็งแกร่ง แล้วเราจะเจาะเข้าไปปล่อยเชื้อไวรัสร้ายในพืชได้อย่างไรกัน เราเริ่มเครียดแล้วนะ รู้ไหม?

SARCON: ซาร์คอน
กระตุ้นการสร้างเกราะป้องกันแมลงและโรค(Agglomeration of Colliods Aggregrate) อาทิ ป้องกันเพลี้ยแป้ง แมลงหวี่ขาว เพลี้ยไฟ ให้ปลอดภัยในเบื้องต้น

และหนึ่งในนั้นก็คือ "กระบวนการสร้างเกราะป้องกัน" ด้วย "Orthosilisic acid" ที่แตกตัวเป็นสารในรูป "Polymer" และเข้าสู่กระบวนการ "Polymerization" จนเปลี่ยนรูปเป็นสาร "Colloids" และเข้าสู่กระบวนการ"Agglomeration" เพื่อเปลี่ยนรูปให้เป็นผลึกแข็ง(Colloids Aggregrate) และถูกเคลื่อนย้ายไปที่"ผนังเซลล์"(Cell Walls) ต่อไป ผนังเซลล์ก็จะแข็งแบบ"ผนังคอนกรีต"

ยากซึ่งที่ปากเพลี้ยจะมาเจาะดูด แปลงอื่นอาจจะมีเพลี้ยมาเจาะน้ำเลี้ยงได้ง่ายและปล่อยเชื้อไวรัสไว้ แต่เราป้องกันไว้ดีกว่า การใช้ยาเคมีดูดซึมจะฆ่าเพลี้ยที่เป็นพาหะนำเชื้อไวรัสใบหงิกได้ ตัวเพลี้ยมันตายไปแต่มันก็ปล่อยเชื้อไวรัสไว้ในพืชแล้ว พืชได้รับเชื้อก็ติดโรคไปแล้วเมื่อพืชได้รับ "ซาร์คอน" (SARCON) ในใบพืช ซิลิคอนจะสะสมมากในชั้นผนังเซลของเซลผิวนอกชนิดต่าง ๆ (epidermal cells) ได้แก่ bulliform cell, Cork cell, guard cell, long cell, micro-hair, prickle hair, silica cell, subsidiary cell และสะสมน้อยในเซลชั้นกลาง(mesophyll cells) และระบบท่อลำเลียง (vascular bundle cells) และระบบท่อลำเลียง (vascular bundle cells) ซิลิคอนช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงปกป้องการบุกรุกของศัตรูพืชและสภาพแวดล้อมเลวร้ายต่าง ๆ ปกติพืชได้รับ Silicon ทีละน้อยจากการดูดซึมทางรากและเคลื่อนย้ายไปยังผนังเซลที่สะสมซิลิคอน เมื่อถูกกระตุ้นซิลิคอนจะรวมตัวกันเป็นชั้นโพลิเมอร์ในผนังเซลในรูป silicon – cellulose membrane ช่วยทำให้ผนังเซลแข็งแรงขึ้นเพื่อป้องกันตนเอง
มีส่วนผสมของกรดออร์โธ่ซิลิซิค (Orthosilicic acid) หรือซิลิคอนในรูปที่ละลายน้ำได้ และสามารถซึมผ่านเข้าไปในพืชได้ง่ายและรวดเร็ว เป็นสารช่วยสร้างความต้านทานโรคและแมลงให้แก่พืช โดยกรดซิลิซิคในรูปที่ออกฤทธิ์ได้ (Orthosilicic acid) จะช่วยเสริมสร้างโครงสร้างพืชให้แข็งแรงโดยเฉพาะในชั้นเซลล์ผิวนอก(Epidermis) กรดซิลิซิคสะสมในผนังเซลล์และจะรวมตัวเป็นชั้นโพลิเมอร์(polymer)ปกป้องพืชเมื่อถูกกระตุ้นจากการบุกรุกของโรคและแมลง กรดซิลิซิคยังช่วยทำลายพิษที่ได้รับจากศัตรูพืชและยังช่วยส่งเสริมการสังเคราะห์และการออกฤทธิ์ของสารต้านทานโรคและแมลงที่พืชสร้างขึ้นเองเช่น phytoalexins, flavonoids เป็นต้น

กรดซิลิซิคที่รวมตัวกันเป็นชั้นของโพลิเมอร์( Layer of Polymers) เพื่อปกป้องพืช ก็ยังทำหน้าที่ในการทำให้พืชทนทานต่อสภาวะเครียดต่างๆ จาก ความแห้งแล้ง ความร้อน ความหนาวเย็น ความเค็มของดิน ฯลฯ ได้ดี ทำให้พืช ทนแล้ง ทนร้อน ทนหนาว ทนเค็มได้ดี อีกทั้งยังช่วยลดปัญหาดินเปรี้ยวและรักษาความชุ่มชื้นในดินได้ ช่วยให้รากพืชแข็งแรง หาอาหารได้เก่ง ตลอดจนคุณสมบัติอีกอย่างที่กรดซิลิซิคสามารถทำหน้าที่ได้ดีคือการปลดปล่อยธาตุอาหารที่ตกค้างในดินโดยเฉพาะฟอสเฟต และจับยึดสารพิษตกค้างในดินบางชนิดไม่ให้ถูกดูดซึมเข้าสู่พืชและไปทำลายพืช



นี่คือ..อีกหนึ่งแนวทางเบื้องต้นและเป็นวิธีที่จะป้องกันเชื้อไวรัสที่จะเข้ามาสู่พืชของเราจะป้องกันแมลงพาหะที่จะมาเจาะดูดน้ำเลี้ยงและปล่อยเชื้อไวรัสโดยไม่ได้ฆ่ามันและปลอดภัยโดยไม่ต้องใช้สารเคมีฆ่าเพลี้ยหรือแมลงที่มีพิษสูงไปฆ่ามัน และมันก็ไม่มีโอกาสปล่อยเชื้อเข้าไปในพืชเพราะเจาะผนังคอนกรีตที่เราสร้างไว้ได้ยาก เป็นวิธี แบบปลอดภัยไร้สารพิษ โดยไม่ใช้สารเคมีฆ่าเพลี้ยหรือฆ่าแมลงที่แนะนำกันมาตามตำราพันปี ถ้าเรายังฝังใจกับการใช้สารเคมีดูดซึมชนิดรุนแรงเพื่อฆ่าแมลงพาหะ เราไม่มีวันชนะมันอย่างแน่นอน ฆ่ามันตายได้ก็หลังจากที่มันเข้ามาดูดกินน้ำเลี้ยงจากพืชเป็นอาหารและต้องตายไปเพราะรับพิษร้ายจากสารเคมีที่เราฉีดไว้ แต่ตัวแมลงพาหะเองก็ได้ดูดซึมยาเข้าไปแล้วและก็ต้องตายไป แต่ในขณะเดียวกัน..เชื้อไวรัสก็ได้ถูกปล่อยไว้ในต้นพืชนั้นที่มันไปดูดกินน้ำเลี้ยงไว้แล้ว พืชก็ต้องติดเชื้อร้ายแห่งไวรัส แมลงพาหะมา 1,000 ตัวมาดูดกินน้ำเลี้ยงพืช 1,000 ต้น ถึงตัวแมลงพาหะมันจะตายไปแต่เชื้อร้ายก็ยังคงอยู่ และพืชทั้ง 1,000 ต้นก็ไม่พ้นต้องติดเชื้ออยู่ดี แต่ถ้ามันมี "ภูมิต้านทาน"(วัคซีน) จากกระบวนการ SAR ก็โชคดีไป เพราะมันก็ สามารถ "เอาอยู่" หรือ "ควบคุม" เชื้อร้ายอยู่ พืชก็ปลอดภัยแม้จะรับเชื้อร้ายไว้ ก็ควบคุมอยู่ และสิ่งที่สำคัญและดีที่สุดคือพยายามอย่างไรที่จะไม่ให้มันเข้ามาปล่อยเชื้อร้ายแก่พืชเราได้(อาจมีบ้างที่เจาะเข้าได้ แต่ขอให้มีน้อยที่สุด)

http://paccapon.blogspot.com/2016_07_01_archive.html

http://paccapon.blogspot.com/2015/07/blog-post_8.html






3. อีเรเซอร์-1  (Eraser-1) 
สารกำจัดเชื้อโรคทั้งเชื้อไวรัส เชื้อราและแบคทีเรียแบบเฉียบพลัน และสารป้องกันเชื้อโรคในกระบวนการสร้างภูมิคุ้มกัน เสมือนเป็น"วัคซีน" ให้พืช ( ในกระบวนการ Systemic Acquired Resistance: SAR ) โดยผ่าน SA-Signaling Pathwayส่งสัญญาณไปยังเซลล์ต่างๆทั่วทั้งต้นพืช  กระตุ้นให้ยีนต้านทานโรค (PR-Genes) สร้างโปรตีนต้านทานโรคตัวหนึ่งขึ้นมา(PR-Proteins) ที่ทำหน้าที่เป็นสารควบคุมและฆ่าเชื้อโรคหลายๆชนิด ทำให้พืชมีภูมิต้านทานโรค และสามารถรักษาโรคและป้องกันการเกิดโรคที่มีสาเหตุมาจากเชื้อรา แบคทีเรียและไวรัสได้ ก่อนที่เชื้อโรคจะลุกลามไปทั่วทั้งลำต้น


Tel. 084-880-9595, 084-3696633
Line ID: @organellelife.com
http://www.paccapon.blogspot.com/2015/06/blog-post_26.html
http://www.paccapon.blogspot.com/2015/06/blog-post_15.html











ถ้าพืชติดไวรัสแล้วรักษาหายไหม ?





หลายท่านถามมาว่า "พืชเป็นไวรัสแล้วรักษาหายไหม?"

ขอตอบเลยนะครับว่า.. 

"ถ้าเป็นแล้ว ต้นที่เป็นแล้วจะรักษาไม่หาย แต่สามารถป้องกันไม่ให้เป็นแหล่งแพร่เชื้อโดยพาหะ (Insect Vector) ที่ลุกลามไปยังต้นที่ยังไม่เป็นโรคไวรัสได้ โดยไม่ต้องถอนทิ้งครับ"


เพราะตรงที่พืชติดเชื้อนั้น เชื้อมันจะถูกควบคุม แล้วกำจัดไป และพืชจะแตกยอดแตกใบใหม่ออกมา เป็นใบที่ปกติไม่ติดเชื้อครับ



#การควบคุมไวรัสในพืช ที่ติดเชื้อไวรัสไปแล้ว เป็นสิ่งสำคัญ เพื่อป้องกันการลุกลามของเชื้อและเป็นแหล่งแพร่เชื้อต่อ บางท่านแนะนำว่าต้อง #ถอนทิ้ง เพื่อตัดแหล่งแพร่เชื้อ เพราะเป็นความเชื่อเดิมๆ ที่ทำกันมาตามตำรา แต่บางท่านเสียดายที่จะถอนทิ้งไป เพราะยังมีใบส่วนที่ดีอยู่ (อาทิ ในพืชยาสูบที่พบใบหด (Leaf Curl) บางใบแต่ก็ยังมีใบที่ดีอยู่และสามารถขายผลผลิตได้เพราะขายใบยาสูบ เขาจึงเลือกที่จะใช้ #วิธีควบคุมส่วนที่ติดเชื้อให้อยู่ แล้วหาวิธีป้องกันต้นที่ยังดีอยู่ไม่ให้ติดเชื้อครับ



ติดตามประสบการณ์ไวรัสกว่า 30 ปี
http://www.paccapon.blogspot.com/2015/07/blog-post_8.html 


ศึกษาวิธีการควบคุมและป้องกันไวรัส ด้วยการ
กระตุ้นการสร้างภูมิต้านทานโรค โดยวิธีเลียนแบบธรรมชาติ คลิกลิ้งค์>> http://organelle1.blogspot.com/2015/12/systemic-acquired-resisitance-sar.html



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
084-8809595 , 084-3696633
Line ID : @organellelife.com (พิมพ์ @ ด้วยครับ)
หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อน เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ

https://lin.ee/nTqrAvO



สำหรับการแก้ปัญหาไวรัส การถอนทิ้งและการฆ่าแมลงพาหะ เป็นเพียงแนวทางหนึ่งเท่านั้นครับเพื่อทำลายแหล่งแพร่เชื้อ ถึงแม้จะถอนทิ้งไปแต่ไวรัสก็ยังคงติดอยู่กับต้นที่ได้รับเชื้อและรอแสดงอาการ(หลังจากพืชได้รับเชื้อไวรัสจากพาหะ เชื้อจะฟักตัวชั่วระยะเวลาหนึ่งซึ่งอาจจะกินเวลาประมาณ 21-30วันก็เป็นได้แล้วถึงแสดงอาการ) การแก้ปัญหาโดยการถอนทิ้งจึงยังไม่จบปัญหาและการฆ่าแมลงพาหะ อาทิ แมลงหวี่ขาว เพลี้ยอ่อนหรือเพลี้ยไฟ จึงยังไม่ใช่แนวทางที่เบ็ดเสร็จ ฆ่าแมลงพาหะนำเชื้อไวรัสได้และมันก็ตายไป แต่ถ้าแมลงพาหะะนั้นได้ปล่อยเชื้อไวรัสให้กับพืชของเราไปแล้ว พืชของเราก็มีโอกาสเป็นโรคจากไวรัสอยู่ดีนะครับ
ตอนนี้มีวิธีควบคุมไวรัสด้วยแนวทาง  SAR(Systemic Acquired Resistance) นั่นคือ การกระตุ้นการ
สร้างภูมิต้านทานให้พืช เสมือนพืชได้รับ "วัคซีน"
ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
http://paccapon.blogspot.com/2015/07/blog-post_8.html
http://paccapon.blogspot.com/2015/08/blog-post_18.html



เมื่อใคร ๆ ก็เจอแต่ปัญหาไวรัสพืช ปัญหาโลกแตก ปัญหาชวนให้ปวดหัว จะทำอย่างไรแก้ปัญหาเจ้าไวรัสนี้ให้ได้ ???

การป้องกันคือหัวใจสำคัญ

- ป้องกันอันดับแรก คือ ป้องกันแมลงพาหะมาปล่อยเชื้อ

- ป้องกันอันดับสอง คือ ป้องกันเชื้อไวรัส ด้วยการสร้างภูมิต้านทานจาก "วัคซีนพืช" ด้วยกระบวนการกระตุ้นการสร้างภูมิต้านทานให้แก่พืช ( Systemic Acquired Resistance : SAR ) ด้วย Elicitor ที่สำคัญเพื่อป้องกัน การเข้าทำลายโดยไวรัส อันจะทำให้ พืชเสียหายทั้งทางด้านผลผลิตและคุณภาพ

** เรามาสร้างระบบภูมิต้านทานให้กับพืชของเรากันเถอะครับ ด้วย "วัคซีนพืช" มีวัคซีนดี ๆ ก็อุ่นใจคลายกังวลไปกว่าครึ่งแล้วนะครับ

สอบถามเพิ่มเติม
โทร. 084-8809595,084-3696633
Line ID: @organellelife.com (พิมพ์@ด้วยนะครับ)






**ทางออกของปัญหาโรคจากไวรัส**
วันนี้เจ้าของ ‪#‎ สวนแตง‬ #สวนเมล่อน‬ หรือพืชอื่นๆ ยิ้มได้แล้วครับ

การทำ.. ‪#‎วัคซีนพืช‬ : เพื่อการป้องกันโรค ที่ได้ผลและยั่งยืน
โดยเทคนิคการสร้างภูมิต้านทานด้วยวิธีการเลียนแบบธรรมชาติ (Systemic Acquired Resistance:SAR )
มาเริ่มกันเลยนะครับ

ก่อนอื่นเราต้องรู้ก่อนว่าพืชมีระบบการป้องกันตัวเอง (Plant Defense) มิเช่นนั้นพืชคงไม่สามารถอยู่บนโลกที่เกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาได้อย่างยาวนาน
ถึงวันนี้มีการค้นพบกระบวนการหรือวิธีป้องกันตัวเองของพืชมากมาย แต่มีวิธีหนึ่งที่พืชสามารถป้องกันตัวเองได้อย่างมีประสิทธิภาพได้เป็นอย่างดี ที่เราเรียกว่าเป็นวิธี SAR หรือ Systemic Acquired Resistance ซึ่งเป็นกระบวนการป้องกันตัวเองของพืชจากเชื้อโรค
หากจำลองภาพของแตงกวาขณะที่ถูกไวรัสเข้าทำลาย หมายถึง เป็นช่วงที่เพลี้ยหรือแมลงหวี่ขาวเจาะดูดแล้วปล่อยไวรัสเข้าไปในต้น สิ่งแรกที่แตงกวาจะตอบสนองคือ การตอบสนองแบบตื่นตัว เหมือนคนที่ถูกมีดบาดแล้วจะเกิดอาการสะดุ้ง จากนั้นพืชจะป้องกันตัวเองด้วยการหลั่งสารเพื่อป้องกันตัวเองเฉพาะหน้าก่อน ยกตัวอย่าง เช่น กับยางพารา อาจสร้างน้ำยางออกมาเพื่อเป็นการสมานแผล นอกจากพืชจะสร้างระบบป้องกันตัวเองในแบบเฉพาะที่แล้ว ยังมีการสังเคราะห์สารที่เป็นสัญญาณอีกตัวขึ้นมา ขณะที่พืชถูกกระตุ้นแล้วส่งสารดังกล่าวไปทั่วต้น ตั้งแต่ปลายยอดไปจนถึงปลายราก เป็นการเตือนเซลล์ทุกเซลล์ที่อยู่ในต้นเพื่อให้รู้ว่ากำลังมีการบุกรุก จากนั้นจะเป็นกระบวนการเพื่อจะได้สังเคราะห์โปรตีนที่เรียกว่า PR -Proteins ออกมาเพื่อต้านทานโรค
เมื่อรู้ทฤษฎีที่มาและข้อมูลแล้ว ต่อไปเป็นการปฏิบัติที่จะต้องทำ"วัคซีนพืช" แนวทางนี้จะได้ผลและยั่งยืน

#วัคซีนพืช ทำให้พืชมีภูมิต้านทานเชื้อโรค ก่อนที่จะเป็นโรค และต้องทำให้พืชมีภูมิต้านทานก่อนเชื้อโรคจะเข้าพืช

หนึ่งในวัคซีนพืชได้แก่ ‪#‎อีเรเซอร์-วัน‬ (ERASER-1) 
"อีเรเซอร์-วัน" (ERASER-1) เป็น Salicylic acid ในรูปวัคซีนพืชที่รวม ‪#‎แคลเซียม‬ และ ‪#‎โบรอน‬ ซึ่ง ‪#‎SalicylicAcid‬ มีความสำคัญมาก เพราะตัวนี้เป็นการเลียนแบบธรรมชาติ โดยที่ธรรมชาติกำหนดว่าต้องมีการสังเคราะห์ออกมาเมื่อมีเชื้อโรคเข้าทำลายพืช แต่เราใช้ Salicylic acid ในรูปแบบของ "อีเรเซอร์วัน" (ERASER-1) คือพร้อมให้มีการกระตุ้น (Active) ทันที เพราะฉะนั้นถ้าเราสามารถนำ Salicylic acid ในรูปที่ถูกต้องและนำมาใช้ในปริมาณ (Percentages) ที่เหมาะสม ด้วยเทคนิคที่ถูกต้อง พืชก็จะสังเคราะห์ PR-Proteins ออกมา ซึ่งจะมีฤทธิ์ในการต้านไวรัสด้วย มันเป็นการส่งสัญญาณให้รู้ก่อนที่จะมีไวรัสเข้า และเป็น Salicylic acid ที่ไม่มีอันตรายต่อพืช เพราะในความจริงในธรรมชาติของพืชก็จะสร้างกรดนี้ขึ้นมาอยู่แล้ว



แล้วจะนำมาใช้กับ แตงกวา เมล่อน หรือพืชอื่นๆ ได้อย่างไร? 

ในประเด็นนี้มีการแยกไว้ 2 กรณี

กรณีที่(1) คือการใช้ "อีเรเซอร์-วัน" (ERASER-1) เพื่อป้องกัน ‪#‎โรคไวรัสใบจุดวงแหวน‬ ซึ่งเป็นกรณีที่อยากจะแนะนำมาก เพราะเห็นผลดีที่สุด แต่เกษตรกรชาวสวนไม่นิยมใช้กัน และมักปล่อยให้เป็นโรคก่อนจึงรักษา ดังนั้น อยากให้ใช้วิธีนี้เพราะเป็นการป้องกันก่อนที่จะเกิดและเป็นวิธีของการใช้วัคซีนพืช โดยมีอัตราหรือสัดส่วนการใช้ 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ที่เป็นอัตรามาตรฐานของชาวสวน โดยมีเทคนิคการใช้ คือให้ฉีดพ่นทางใบให้ชุ่มทุก 7-10 วัน ให้เริ่มฉีดตั้งแต่เป็นต้นกล้าเล็กๆ ก่อน และนั่นเป็นการให้วัคซีนในช่วงเด็ก เหตุผลที่ต้องฉีดตลอดเพราะ PR-Proteins ที่พืชสร้างขึ้นมีอายุการใช้งานและมีการหมดอายุลง เพราะฉะนั้นจึงจำเป็นต้องมีการฉีดกระตุ้นอยู่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เซลล์พืชมีการสร้างออกมาอยู่ตลอดเวลาไม่ขาดช่วง



กรณีที่(2) คือถ้าเป็นโรคแล้วจะหาทางแก้ไขได้อย่างไร? ความจริงไม่ค่อยอยากแนะนำวิธีนี้สักเท่าไร เพราะเป็นการแก้ไขที่ปลายเหตุและค่อนข้างยาก โอกาสเกิดความล้มเหลวสูง แต่อาจพอมีหวังด้วยการให้ "อีเรเซอร์วัน" (ERASER-1) ในอัตรามาตรฐานตามข้างต้น แต่จะมีความแตกต่างในเรื่องการให้ เพราะพืชติดโรคแล้ว จึงต้องย่นเวลาการให้ โดยให้มีความถี่มากขึ้น คือให้ 3-5 วันต่อครั้ง เป็นเวลา 3 ครั้ง ในระยะเริ่มต้น หลังจากนั้นจะเริ่มทิ้งระยะเป็นเวลา 7-10 วัน ต่อครั้ง แล้วพืชจะค่อยเริ่มฟื้นตัว ซึ่งเกษตรกรจะเห็นความเปลี่ยนแปลง คือจะมียอดอ่อนแตกออกมาใหม่และจะไม่มีไวรัสมารบกวนอีก ซึ่งเป็นยอดใหม่ที่มีความสมบูรณ์ตามปกติ แต่อย่างไรก็ตาม **ขอย้ำอีกครั้งว่าไม่ค่อยอยากแนะนำ** เพราะพืชเคยผ่านการติดโรคมาแล้ว กว่าจะฟื้นตัวต้องใช้เวลาในการปรับสภาพภายในของพืชเองเพื่อให้ดีขึ้น แต่การปล่อยให้พืชที่เคยติดโรคกลับมามีความสมบูรณ์อีกครั้งต้องอาศัย "ตัวช่วย" เพราะลำพังให้พืชสร้างระบบภายในเองคงใช้เวลานานมาก ถึงกระนั้นการที่จะให้ได้ผลต้องมีการเสริม Proteins ให้มากขึ้น ยิ่งมากยิ่งดี เพราะการเสริมโปรตีนเข้าไปจะทำให้แตงกวา เมล่อน หรือพืชอื่นๆ ฟื้นตัวเร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น


อีกสิ่งหนึ่งที่จะทำให้แตงกวา เมล่อน หรือพืชอื่นๆ ที่เป็นโรคแล้วได้ฟื้นตัวดีขึ้นคือ "อีเรเซอร์-วัน" (ERASER-1) มีสารที่จะช่วยกำจัดเชื้อโรค เพื่อลดปริมาณเชื้อโรคที่อยู่ภายนอกและกำลังจะเข้าไปทำลายพืช ที่ถือว่าเป็นการแทรกซ้อน ซึ่งก็คือ "สารเสริมประสิทธิภาพ" ที่ช่วยเสริมการกำจัดเชื้อโรคได้เป็นอย่างดี




บทสรุปและประโยชน์ของแนวทางการรักษาป้องกันด้วยวิธีการสร้างภูมิต้านทาน ( Systemic Acquired Resistance:SAR ) ซึ่งเป็นวิธีที่ได้ผล ถูกต้องและยั่งยืน เพราะจะใช้เมื่อต้องการทำวัคซีนให้กับพืช เพื่อป้องกันโรคก่อนที่จะเกิดหรือก่อนเชื้อโรคจะเข้าทำลาย
เหตุที่บอกว่ายั่งยืนก็เพราะว่า หากเราย้อนกลับไปสมัยก่อน มนุษย์ได้มีการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรค และทำมาจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้เพื่อให้มนุษย์มีชีวิตอยู่ได้อย่างยาวนาน ต่อมาทฤษฎีการฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรคถูกนำมาใช้ในสัตว์ เพราะมีเหตุผลที่ต้องการให้สัตว์มีอายุที่ยั่งยืน สำหรับพืชก็เช่นเดียวกัน การฉีดวัคซีนไม่ได้หมายถึงจะไม่ตาย เพียงแต่ทำให้เกิดโรคน้อยลงครับ

ศึกษาการสร้างภูมิต้านทานโรคด้วยวิธีการเลียนแบบธรรมชาติคลิกลิ้งค์>>
http://organelle1.blogspot.com/2015/12/systemic-acquired-resisitance-sar.html

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
084-8809595 , 084-3696633
Line ID : @organellelife.com (พิมพ์ @ ด้วยครับ)

หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อน เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ
https://lin.ee/nTqrAvO





เพราะความเชื่อที่ว่า...ไวรัส...ไม่มีวิธีรักษาหาย จึงทำให้หลายคนไม่เปิดใจที่จะยอมรับ อะไร อะไร ก็จะให้เผาทิ้ง ถอนทิ้ง ทำลายทิ้ง แต่ก็ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหานี้ได้ 

อยากยกตัวอย่างเป็นกรณีศึกษาจาก FB: ‪#‎สวนแตงกวา‬ ตะวันเลิฟ จ.หนองคาย ที่เขาชอบศึกษาและพิสูจน์ว่าจะลองใช้วัคซีน "อีเรเซอร์-1" ดูสักครั้ง
เพื่อพิสูจน์ว่าสิ่งหนึ่งที่เราพูดกันมาตลอดเวลาว่าไวรัสไม่มีทางแก้ไข และในที่สุดเขาก็เจอทางออกและเขาเองก็ยังบอกเลยว่าเขาเกือบถูกพาให้หลงทาง ทั้งๆที่ปัญหานี้มีทางออกถ้าเข้าใจและศึกษาหาความจริงดีๆ แล้วค่อยเอามาแนะนำกันอย่างถูกต้อง แต่..นี่มีแต่บอกให้ทำลายทิ้งอย่างเดียว เพราะมันง่ายใช่ไหม ทั้งๆที่ปัญหานี้มันยังพอมีทางออก 


และ..นี่คือคำตอบในวันนี้ของเกษตรกรอย่าง #สวนแตงกวา ตะวันเลิฟ จ.หนองคาย ที่เปิดใจ.. และขอขอบคุณเกษตรกรอีกมากมายหลายท่านที่ยอมเปิดใจเช่นเดียวกันกับตะวันเลิฟ ที่ทุกท่านเปิดใจและพร้อมที่จะศึกษาแนวทางใหม่ๆเพื่อนำเอามาปรับใช้กันโดยมีประสบการณ์จริงจากผู้ใช้จริงและอ้างอิงงานด้านวิจัยและมีองค์ความรู้รองรับ เราคือ..อีกหนึ่งทางเลือก

เพราะ..การพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาไวรัสพืช ไม่ใช่..แค่การไปเอาความเชื่อตามตำราแล้วเอามาว่ากันว่ามันไม่มีทางออก นอกจากทำลายทิ้ง โดยใช้ความเชื่อและอคติส่วนตัวว่า "ไวรัส..ไม่มีวิธีไหนแก้ไขได้"



แต่ก็ไม่เป็นไรเรายังมั่นใจในพื้นฐานของกระบวน การกระตุ้นการสร้างภูมิต้านทานของพืชนั่นคือ.. กระบวนการ Systemic Acquired Resistance :SAR นั่นเอง และต่อไปเราต้องช่วยกันแก้โจทย์ข้อใหญ่ของกระบวนการ SAR คือว่า "สารสำคัญ" ที่จะใช้ในการกระตุ้นการสร้างภูมิต้านทานของพืชในกระบวนการ SAR นั้นมันคืออะไรบ้างที่ "ใช่" และมีประสิทธิภาพจริง หรือว่าสารที่ "ใช่" ที่กล่าวมามันคือตัวไหนที่ดีที่สุด ก็คงต้องค้นหากันเอาเองต่อไป พบคำตอบของสารที่ใช้ในกระบวนการ SAR ได้ใน http://paccapon.blogspot.com/2016/02/org.html




ปัญหา #โรคพืช #ไวรัสพืช 
ไม่ว่าจะเป็น แตงกวา, เมล่อน, พริก, ฟัก, มะละกอ พืชไร่ พืชสวน
สำหรับการแก้ปัญหาไวรัส การถอนทิ้งและการฆ่าแมลงพาหะ เป็นเพียงแนวทางหนึ่งเท่านั้นครับ

เพื่อทำลายแหล่งแพร่เชื้อ ถึงแม้จะถอนทิ้งไปแต่ไวรัสก็ยังคงติดอยู่กับต้นที่ได้รับเชื้อและรอแสดงอาการ (หลังจากพืชได้รับเชื้อไวรัสจากพาหะ เชื้อจะฟักตัวชั่วระยะเวลาหนึ่งซึ่งอาจจะกินเวลาประมาณ 21-30วันก็เป็นได้แล้วถึงแสดงอาการ)
การแก้ปัญหาโดยการถอนทิ้งจึงยังไม่จบปัญหาและการฆ่าแมลงพาหะ อาทิ แมลงหวี่ขาว เพลี้ยอ่อนหรือเพลี้ยไฟ จึงยังไม่ใช่แนวทางที่เบ็ดเสร็จ ฆ่าแมลงพาหะนำเชื้อไวรัสได้และมันก็ตายไป แต่ถ้าแมลงพาหะะนั้นได้ปล่อยเชื้อไวรัสให้กับพืชของเราไปแล้ว พืชของเราก็มีโอกาสเป็นโรคจากไวรัสอยู่ดีนะครับ

ตอนนี้มีวิธีควบคุมไวรัสด้วยแนวทาง SAR(Systemic Acquired Resistance) นั่นคือ การกระตุ้นการ
สร้างภูมิต้านทานให้พืช เสมือนพืชได้รับ "วัคซีน"

ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
http://organelle1.blogspot.com/2015/12/systemic-acquired-resisitance-sar.html
http://organelle1.blogspot.com/2016_07_01_archive.html
http://paccapon.blogspot.com/2015/08/blog-post_18.html




****การป้องกันไว้ก่อนย่อมเกิดผลดีกว่าการแก้ไขในตอนหลังนะครับ****


ลิ้งค์เพิ่มเติมที่น่าสนใจครับ
ติดตามดูประสบการณ์จริงในการแก้ปัญหาโรคจากไวรัสพืชในยาสูบ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับพืชอื่นๆ ได้ที่ >>
http://paccapon.blogspot.com/2015/07/blog-post_8.html

ศึกษาการกระตุ้นการสร้างภูมิต้านทานให้พืชด้วยวิธีเลียนแบบธรรมชาติ SAR (Systemic Acquired Resistance) ได้ที่ >>
http://organelle1.blogspot.com/…/systemic-acquired-resisita…

ไวรัสกับแตงกวา
https://www.facebook.com/paccapon.sriklai/media_set…

แตงกวาระบบ ORG
http://paccapon.blogspot.com/2016/07/2.html
https://www.facebook.com/paccapon.sriklai/posts/896709250456859

โพสต์ไวรัสแตงกวา    คุณสมหมาย ทัดสระน้อย
https://www.facebook.com/organellelife.org/?pnref=story

 ZIGNA  All  in  1: ซิกน่า ออล อิน วัน
https://www.facebook.com/paccapon.sriklai/media_set?set=a.935502196577564.1073744010.100003533767367&type=3&pnref=story                                 
SARCON (ซาร์คอน)
https://www.facebook.com/paccapon.sriklai/media_set?set=a.935464776581306.1073744009.100003533767367&type=3&pnref=story                                                        

VDO  โรคไวรัส
https://www.facebook.com/PlantHealthCenter/videos/640396532778894/  


VDO  กระบวนการ SAR
https://www.facebook.com/AntiVirusPlant/videos/1776869549202325/  

ไวรัสเป็นแล้วหายไหม 
https://www.facebook.com/AntiVirusPlant/posts/1786372941585319


ทุกกระบวนอาศัยกลไกการทำงานในกระบวนการเคมีและชีวเคมีของพืช เป็นหลัก ปลอดภัย ไร้สารพิษ เพราะไม่ใช้สารเคมีที่เป็นพิษ มาพิชิตปัญหา



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

โทร. 084-8809595 , 084-3696633
www.organellelife.com
Line ID : @organellelife.com 
                (พิมพ์ @ ด้วยครับ)

หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อน เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ
https://lin.ee/nTqrAvO












ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น