FB

fbq('track', 'ViewContent');

วันอังคารที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2561

ออร์ซ่า (ORZA-400) - สารเพิ่มประสิทธิภาพ

ออร์ซ่า (ORZA-400)
สุดยอด "สารเพิ่มประสิทธิภาพ" ยุคใหม่ !! 
ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการออกฤทธิ์ของสารอื่นๆ
ที่ใช้ร่วม ให้เพิ่มฤทธิ์มากขึ้นอย่างเด็ดขาด 
เสริมฤทธิ์ รวดเร็ว ฉับไว ถึงใจ
ด้วยการทำงานทั้ง..

“ลดแรงตึงผิว แผ่กระจาย เกาะติด ดูดซึม” ได้ดี 


ตามคุณสมบัติ..ขั้นเทพ
ระดับ Super 4 S นั่นคือ..
1) Super-Spreader (สุดยอดการแผ่กระจาย)
2) Super-Stricker (สุดยอดการเกาะติด)
3) Super-Systemic (สุดยอดการดูดซึม)
4) Super-Surfactant (สุดยอดการลดแรงตึงผิว)



คุณสมบัติของ “ออร์ซ่า” 
1) มีส่วนประกอบของสารซิลิโคน (Silicone)
ชนิดพิเศษ ที่ช่วยให้สารกำจัดวัชพืช สารกำจัด
แมลง สารกำจัดโรคพืช ฮอร์โมนพืช และปุ๋ย
เกล็ด ปุ๋ยน้ำทางใบต่างๆ จับติดใบพืชได้เด็ด
ขาด ฉับไว ภายใน 44 วินาที จึงทนทานต่อการ
ชะล้างสูง ทั้งจากฝนและจากการพ่นน้ำให้พืช

2) สามารถนำพา (Carier) สารกำจัดวัชพืช ให้
แทรกซึมเข้าสู่ใบและต้นวัชพืชได้มากและ
รวดเร็วขึ้น ทำให้วัชพืชตายเรียบ ตายสนิท

3) มีคุณสมบัติพิเศษในการเปิดปากใบ (Open
Stomata) เพื่อนำพาสารกำจัดศัตรูพืช (โรคและ
แมลงต่างๆ) แทรกซึมเข้าสู่รูของเซลล์ใบพืชได้
ดี จึงเพิ่มการดูดซึม (Systemic) สาร ทำให้
ละอองยาสัมผัสใบพืช หรือบริเวณที่เกิด
การระบาดของศัตรูพืชได้มากขึ้น

4) ช่วยลดแรงตึงผิว ทำให้สารแผ่กระจาย
(Spreader) ได้ดีขึ้นอย่างทั่วถึงทั้งใบพืช
ทำให้ใบพืชสามารถรับสารได้อย่างทั่วถึงทั้งใบ
ในเวลาที่รวดเร็ว ดังนั้น..จึงสามารถดูดซึม
เข้าไปในเนื้อเยื่อพืชได้ในระยะเวลาไม่เกิน 1-2
นาทีหลังการฉีดพ่น จึงช่วยลดการสูญเสียจาก
แสงแดด ลม และฝน

ประโยชน์ของ ออร์ซ่า (ORZA-400)
1. ช่วยย่นระยะเวลาในการดูดซึมของสารต่างๆ
(สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช ทั้งโรค & แมลง
และวัชพืช ตลอดจนปุ๋ยและฮอร์โมนพืช) ให้
เข้าสู่พืชโดยเร็ว ในระยะเวลาไม่เกิน 1-2 นาที

2. ประหยัดต้นทุน, ลดการสูญเสียสารต่างๆ ที่ฉีด
พ่น ซึ่งโดยปกติแล้วเมื่อฉีดพ่นไป ก็จะตกหล่น
ลงบนพื้นหรือระเหยสูญเสียทิ้งไป

3. ลดค่าใช้จ่ายในด้านต่างๆ โดยเฉพาะไม่ต้อง
ฉีดบ่อยครั้ง เนื่องจากการฉีดพ่นไม่ได้ผลและ
ประสิทธิภาพที่เพียงพอ เป็นต้น

4. สามารถช่วยเพิ่มผลผลิตให้แก่ผู้ใช้ ใช้ได้กับ
พืชทุกชนิด

5. ลดความเสี่ยงจากสารเคมี ที่ต้องใช้มากเกินไป
ในการฉีดพ่นแต่ละครั้งอาทิ ยากำจัดวัชพืช
เป็นต้น

6. มีความปลอดภัยต่อผู้ใช้สูง

7. ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม



หมายเหตุ : 
ออร์ซ่า (ORZA) ไม่ใช่เป็นเพียงสารจับใบทั่วไป ที่เป็นเพียงแค่ “ลดแรงตึงผิว” แต่ไม่ช่วยดูดซึมสารเข้าสู่ปากใบของพืช

ORZA-400 : (ออร์ซ่า-400) 
Benefit Silicone modified Trisiloxane Nonionic silicone surfactantility Very low surface energy
มีคุณสมบัติช่วยในการแผ่กระจายของสาร (Super Spreading) เพิ่มอำนาจในการแทรกซึม (Penetrating) และมีความทนทานต่อการชะล้างของน้ำฝน (Rainfall)

DESCRIPTIONS :
ORZA-400 (ออร์ซ่า-400)
เป็น Modified Trisiloxane และเป็นสาร Organosilicone Surfactant ที่ช่วยในการแผ่กระจายของสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Super ability of Spreading) ซึ่งสามารถลดแรงตึงผิวของน้ำให้ลดลงเหลืออยู่ที่ 20.5 mN/m เพียงใช้แค่ความเข้มข้นแค่ 0.1% (wt.)
เมื่อผสม ORZA-400 (ออร์ซ่า-400) กับสารเคมีที่ต้องการใช้แล้ว เช่น ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง และฉีดลงบนใบของพืชนั้นจะพบว่าสามารถลดมุม (Contact angel) ของหยดน้ำที่เกาะบนใบพืชได้อย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งส่งผลทำให้ใบเปียกได้อย่างรวดเร็ว

คุณสมบัติพิเศษ :
ของ ORZA-400 (ออร์ซ่า-400)
ที่เหนือกว่าสารจับใบชนิดอื่นๆที่เป็นแค่ Surfactant (สารลดแรงตึงผิว) แต่เพียงอย่างเดียว แต่การที่เป็นสาร Silicone ชนิดพิเศษ จะช่วยเพิ่มคุณสมบัติในการนำสารเคมีต่างๆเข้าปากใบ (Stomata) ของพืชด้วยวิธีพิเศษได้อย่างรวดเร็ว โดยผ่านทาง Stomatal Infiltration ซึ่ง Surfactant (สารลดแรงตึงผิว) อื่นๆทั่วไปไม่สามารถทำได้

นอกเหนือจากจะสามารถทำให้สารเคมีที่ใช้ในพืชสามารถดูดซึมไปใช้ได้เร็วแล้ว ยังจะมีประโยชน์ในกรณีฝนตกหรือลมแรงพัดเอาสารเคมีตกพื้นหมด
- ลดแรงตึงผิวอยู่ได้ที่ 20.5 mN/m (ค่ายิ่งน้อยยิ่งดี
จะทำให้น้ำจะแผ่กระจายในใบได้มากขึ้น ไม่เกาะ
เป็นหยด)
- สามารถทำงานได้ดีเมื่ออยู่ใน PH 6-8
- สามารถใช้กับพืชได้ทุกช่วง ไม่มีผลกับดอกและ
ผลอ่อน ของผลไม้

TECHNICAL DATA :
ค่าแรงตึงผิวที่ความเข้มข้น 0.1% [mN/m].....< 20.5 mN/m


HOW TO USE :
1 ) การผสมสารเพิ่มประสิทธิภาพในถังผสม
โดยทั่วไป สามารถเติม ORZA-400 (ออร์
ซ่า-400) 2-4 CC ลงในน้ำ 20 ลิตร เพื่อฉีด
พ่นเพื่อเสริมประสิทธิภาพในการดูดซึมของสาร
เคมีต่างๆที่ฉีดพ่น นอกจากนั้นยังสามารถลด
ปริมาณการพ่นของสารเคมีได้อีก มีอัตราส่วนที่
เหมาะสมในการผสมดังนี้ :
- สารกระตุ้นการเจริญเติบโต ( Plant promote
regulator) : 0.025%-0.05%
- สารกำจัดวัชพืช (Herbicide) : 0.025%-0.15%
- สารป้องกันและกำจัดศัตรูพืช (Pesticide) :
0.025%-0.1%
- สารกำจัดแบคทีเรีย (Bactericide) :
0.015%-0.05%
- ปุ๋ยและธาตุอาหารเสริม (Fertilizer and trace
element) : 0.015%-0.1%

•วิธีการผสม : 
1)ให้ผสม ออร์ซ่า (ORZA-400) หลังจากที่ผสม
สารอื่นๆเสร็จเรียบร้อยแล้ว ในอัตราส่วน 80%
ของน้ำที่จะใช้ก่อนผสมให้เข้ากัน จากนั้นจึงเติม
น้ำให้ครบ 100% และผสมจนเป็นเนื้อเดียวกัน
ซึ่งมีข้อแนะนาในการใช้ ออร์ซ่า (ORZA-400)
คือมักจะมีการลดปริมาณของน้ำที่จะใช้ฉีดพ่น
ในปริมาณปกติ 1/2 ของปริมาณน้ำปกติ เมื่อ
เทียบกับปริมาณน้ำก่อนการใช้สารเพิ่ม
ประสิทธิภาพ (ปริมาณที่แนะนำ)
ยกตัวอย่างเช่น :
ปกติผสมปุ๋ย 10 กรัมในน้ำ 20 ลิตร สามารถฉีดผลผลิตได้ 1 ไร่ แต่ถ้าเติมสารเพิ่มประสิทธิภาพ ออร์ซ่า (ORZA-400) ลงไป สามารถผสมปุ๋ย 5 กรัมในน้ำ 10 ลิตร สามารถฉีดพ่นได้ 1 ไร่ เช่นเดียวกัน ซึ่งสามารถลดปริมาณการใช้ปุ๋ยและยา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และชัดเจน เพราะเวลาฉีดพ่นสารเคมีจะทำให้ใบเปียกได้เร็วมากขึ้น
และ ออร์ซ่า (ORZA-400) ยังนำพาสารเคมีเข้าสู่ปากใบพืชโดยตรงได้อีกด้วย จึงลดเวลาและปริมาณของการฉีดพ่นสารเคมีลงได้


สรุป : สารจับใบมีหลายประเภท ตั้งแต่ราคาถูกจนถึงแพง ถ้าเป็นพวกสารลดแรงตึงผิว (Surfactant) ธรรมดาทั่วไป ราคาจะไม่แพง
แต่จะสามารถทำได้เพียงแค่ลดแรงตึงผิวของน้ำได้เท่านั้น เพื่อให้เกาะอยู่บนใบได้นานขึ้นนิดหน่อย
แต่ในส่วนสารจับใบตัวที่มีประสิทธิภาพในการช่วยเรื่องของการดูดซึมของพืช ให้ได้รับสารที่พ่นมากขึ้น ก็จะมีราคาสูงขึ้นมาตามลำดับ
และด้วยคุณสมบัติพิเศษที่สำคัญของ ออร์ซ่า (ORZA-400) ที่เหนือกว่าสารจับใบทั่วไปคือ สามารถนำพาสารต่างๆ ทั้งเคมีและอินทรีย์ที่ฉีดพ่นลงไปบนใบพืชผ่านเข้าไปทางปากใบโดยตรงได้ โดยผ่านกระบวนการ Stomatal Infiltration Pathway
จากคุณสมบัติที่พิเศษตรงนี้นี่เอง ที่สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของสารเคมีที่ใช้อยู่ได้อย่างเต็มความสามารถ เพราะว่าพืชสามารถดูดซึมไปใช้ได้อย่างเต็มที่ สามารถช่วยลดค่าปุ๋ย ค่าสารเคมี กำจัดศัตรูพืช ที่ต้องฉีดพ่นบ่อยๆ และลดค่าแรงงานในการพ่นยาได้





สอบถามเพิ่มเติม
📞084-8809595, 084-3696633
📱Line ID :  @organellelife.com (อย่าลืมพิมพ์ @ ด้วยครับ)

หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อนใน Line@ เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ
https://lin.ee/nTqrAvO

วันจันทร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2561

เสาวรส


คู่พิชิตไวรัส ( อีเรเซอร์วัน + ซิกน่า
สำหรับ"เสาวรส" และพืชต่างๆ ที่หลายท่านเลือกใช้
ป้องกันและควบคุม ไวรัส เชื้อรา สร้างภูมิต้านทานโรค 
ติดดอกดี ติดผลดี ปลอดภัย ไม่มีสารพิษ ☘️



.
อีเรเซอร์วัน + ซิกน่า วัคซีนพืช ตรา ผีเสื้อมรกต ที่เกษตรกรมั่นใจมานานกว่า 15 ปี 

.
การป้องกันไวรัสพืช ด้วยกระบวนการสร้างภูมิต้านทานโรคสำหรับพืช สามารถคลิกลิงค์เพื่อศึกษาเพิ่มเติมได้ค่ะ
http://paccapon.blogspot.com/2016/07/sarx.html
.












สอบถามหรือปรึกษาโรคพืชได้ที่
☎️:084 - 8809595 , 084-3696633
📲Line ไอดี  @organellelife.com (พิมพ์@ด้วยนะคะ)

หรือคลิ๊กที่ลิงค์ด้านล่าง เพื่อสอบถามข้อมูลและขอคำแนะนำได้ค่ะ
https://lin.ee/nTqrAvO 



วันพุธที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2561

SA กับ อากาศเปลี่ยน


อากาศเปลี่ยนแปลง
ย่อมมีผลกระทบต่อพืช

Pollution spots ("weather fleck")
or physiological spots.
In fact, the symptoms of "weather fleck" are induced by ozone (O3) which is an air pollutant affecting many plants. This gas is produced secondarily in the atmosphere as a result of chemical reactions involving primary pollutants such as nitrogen dioxide (NO2) and hydrocarbons (HC), this under the influence of solar radiation.


it is considered the most important air pollutant. It enters the leaves through the stomata and affects mesophyll cells. It causes many small spots, located mostly on the upper side of lamina, sometimes contiguous and located along the midrib and secondary veins . These spots are often found on basal leaves. Their colour changes over time and turns fairly quickly from brown at first, to greyish white afterwards . When the attacks are very severe, whole leaves are affected. They age prematurely and fall.



Salicylic acid-induced abiotic stress tolerance and underlying mechanisms in plants


Ozone Stress
Ozone is among the major components of photochemical air pollution responsible for causing significant damage to both cultivated plants and forest trees (Wang et al., 2007). Ozone enters to mesophyll cells via stomata where it immediately interacts with water and other cellular components to generate phytotoxicity mainly by elevating the generation of ROS (such as , H2O2,.OH, and 1O2), and triggering a series of signaling cascades and plant defense responses (Long and Naidu, 2002; Ashmore, 2005). Extensive reports are available on the key regulatory roles of SA in plant-ozone stress tolerances (Yalpani et al., 1994; Sharma et al., 1996; Yoshida et al., 2009; Khan et al., 2012a; Pál et al., 2014). SA can work as a signal molecule and promote molecular and physiological changes in ozone-exposed plants (Tamaoki, 2008). Moreover, SA is required to potentiate the antioxidant response, maintain cellular redox state, and activate processes against hypersensitive cell death and ozone-sensitivity (Rao and Davis, 1999). SA was reported to maintain plant growth, development and cellular redox system by activating the GSH-biosynthetic pathway (Yoshida et al., 2009).




In ozone-exposed A. thaliana, SA was involved in the accumulation of defense-related transcripts and induced resistance (Sharma et al., 1996). SA is also involved in signaling network integrating other phytohormones such as JA and/or ethylene in ozone-exposed plants (Rao et al., 2002). Notably, both SA and ethylene were evidenced by these authors to act in concert to regulate ozone-induced cell death in A. thaliana. In the same plant, ozone-mediated induced biosynthesis of JA or methyl jasmonate was reported to attenuate SA-dependent lesion-initiation that eventually was considered as a major factor for the decreased lesions caused by ozone (Rao et al., 2000). It has also been evidenced that ozone-accrued SA-accumulation can be promoted by ethylene-mediated regulation of the expression of the PAL and chorismate mutase (CM) genes in ozone-exposed Nicotiana tabacum (Ogawa et al., 2005). In another study, ozone-sensitivity in hybrid poplar was correlated with insensitivity to both SA and jasmonic acid, where these phytohormones were associated with the programmed cell death in lesion formation (Koch et al., 2000).


Temperature Stress
In the current changing environmental scenario, both low (cold and chilling stress) and high (heat) temperatures have become a potential abiotic stress-threat to crop plants. Temperature stress affects many plant-physiological and biochemical processes and induces molecular mechanisms and gene expression to modulate plants responses (Larkindale and Knight, 2002; Khan et al., 2013a,b; Kazemi-Shahandashti et al., 2014; Siboza et al., 2014). SA-supplementation has been reported to differentially benefit several plant species exposed to low/chilling temperatures (Janda et al., 1999; Ding et al., 2002; Horváth et al., 2002; Kang et al., 2012; Kazemi-Shahandashti et al., 2014; Siboza et al., 2014) and high (He et al., 2002; Larkindale and Knight, 2002; Clarke et al., 2004; Shi et al., 2006; Wang and Li, 2006; Wang et al., 2010; Khan et al., 2013a,b). SA (0.5 mM) modulated antioxidant enzymes (such as ascorbate peroxidase, APX; superoxide dismutase, SOD; guaiacol peroxidase, GPOX; GSH reductase, GR) and improved chlorophyll fluorescence in Z. mays under low (2°C) temperature stress (Janda et al., 1999). Exogenously SA can inhibit the activity of isozymes (CAT-1 and CAT-2) of catalase (CAT) which in turn can mediate responses of Z. mays to low temperature stress (Horváth et al., 2002).


Salicylic acid (2.0 mM)-mediated increased synthesis of total phenolics and the activity of PAL were reported to improve chilling tolerance in cold-stored lemon fruit (Citrus limon; Siboza et al., 2014). Mutlu et al. (2013) reported that exogenously sourced SA results in cold tolerance by enhancing antioxidant enzymes, ice nucleation activity, and the patterns of apoplastic proteins in H. vulgare genotypes. In another report, SA significantly protected ultra-structures in Musa acuminata seedlings under chilling stress (Kang et al., 2012). Least reports are available in literature on the molecular mechanisms underlying SA-mediated improved plant tolerance to cold/chilling temperature. Increased chilling tolerance was evidenced in chilling-exposed S. lycopersicum fruit as a result of low concentrations of (0.01 mM) MeSA-mediated induction in the synthesis of some stress proteins, such as PR proteins (Ding et al., 2002). The applied MeSA significantly increased accumulation of PR-2b and PR-3amRNAs but slightly increased PR-3b mRNA accumulation (Ding et al., 2002).
Salicylic acid-mediated improved plant tolerance to heat stress has also been reported (He et al., 2002; Larkindale et al., 2005; Wang et al., 2010; Khan et al., 2013a,b). Larkindale and Knight (2002)reported that the transgenic Arabidopsisseedlings showing a bacterial SA-decomposing salicylate hydroxylase were less tolerant to heat stress. SA signaling played an important role in the acquisition of Ocimum basilicum to heat (Clarke et al., 2004). SA application increased antioxidant system in Vitis vinifera and induced activity of APX, GR, and monodehydro ascorbate (MDHA), increased redox ratios of AsA and GSH, and maintained Ca2+-homeostasis were reported in SA-supplemented and cold/heat treated V. vinifera (Wang and Li, 2006). SA (1.0 mM) decreased electrolyte leakage and oxidative stress, and improved maximum yield of PSII, Fv/Fm, and the quantum yield of the PSII electron transport in Cucumis sativa seedlings after both heat stress and recovery (Shi et al., 2006). Recently, Khan et al. (2013b) have shown that treatment of 0.5 mM SA can alleviate heat stress in T. aestivum by increasing Pro-production and restriction of the stress ethylene formation under heat stress. Notably, the details of the mechanisms of heat stress mitigation with the application of SA are not available and the area could be an open challenge at both physiological and molecular levels.
M. Iqbal R. Khan,1 Mehar Fatma,1 Tasir S. Per,1 Naser A. Anjum,2,* and Nafees A. Khan1




Salicylic acid-induced abiotic stress tolerance and underlying mechanisms in plants

M. Iqbal R. Khan,1 Mehar Fatma,1 Tasir S. Per,1 Naser A. Anjum,2,* and Nafees A. Khan1

Abstract
Abiotic stresses (such as metals/metalloids, salinity, ozone, UV-B radiation, extreme temperatures, and drought) are among the most challenging threats to agricultural system and economic yield of crop plants. These stresses (in isolation and/or combination) induce numerous adverse effects in plants, impair biochemical/physiological and molecular processes, and eventually cause severe reductions in plant growth, development and overall productivity. Phytohormones have been recognized as a strong tool for sustainably alleviating adverse effects of abiotic stresses in crop plants. In particular, the significance of salicylic acid (SA) has been increasingly recognized in improved plant abiotic stress-tolerance via SA-mediated control of major plant-metabolic processes. However, the basic biochemical/physiological and molecular mechanisms that potentially underpin SA-induced plant-tolerance to major abiotic stresses remain least discussed. Based on recent reports, this paper: (a) overviews historical background and biosynthesis of SA under both optimal and stressful environments in plants; (b) critically appraises the role of SA in plants exposed to major abiotic stresses; (c) cross-talks potential mechanisms potentially governing SA-induced plant abiotic stress-tolerance; and finally (d) briefly highlights major aspects so far unexplored in the current context.

https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4485163/



ปรึกษาเรา
☎️ 084-8809595, 084-3696633
📲Line ไอดี @organellelife.com (พิมพ์ @ด้วยนะครับ)


หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อน เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ http://line.me/ti/p/%40organellelife.com


วันอังคารที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2561

ต้นยาสูบ 1 ต้น

 ต้นยาสูบ 1 ต้น

- จะมีใบมากกว่า 20 ใบ (20-28 ใบ)แต่เราจะเอาใบไว้แค่ต้นละ 20 ใบ โดยการตอนยอดในระยะที่เหมาะสม


• การเก็บเกี่ยวใบยา
- จะเก็บเกี่ยวประมาณ 6 ครั้ง/ต้น
- ใบยาตีน 1 ครั้ง= 3 ใบ (10%)
- ใบยากลาง 3 ครั้ง= 9 ใบ (50%)
- ใบยายอด 2 ครั้ง= 6 ใบ (40%)
รวม 6 ครั้ง=18ใบ (100%)
(ยังไม่ได้รวมใบยาตีนทราย (Sandleafs) อีก 1
ครั้ง จำนวน 2 ใบ รวมเป็น 20 ใบ)

• ใบยาต้นละ 20 ใบ ทำน้ำหนักให้ได้เฉลี่ยใบละ
90-100 กรัม หรือต้นละ 1.8-2.0 กิโลกรัม

• 1 ไร่ ปลูกระยะ 50-60 ซม.x 120 ซม. จะได้ต้น
ยาสูบเฉลี่ยไร่ละประมาณ 2,500 ต้น


• การเก็บเกี่ยวใบยาหลักๆ เราจะเก็บครั้งละ 3 ใบ
ทุกช่วง 7-9 วัน (ยกเว้นใบยายอด อาจเก็บทุก
ช่วง 10-12 วัน)


• ถ้าเก็บเกี่ยวใบยาตามนี้ ก็จะได้ใบยาที่มีคุณภาพที่ดี และมีผลผลิตที่สูง

• ยาสูบที่เติบโตสมบูรณ์ดี ใบยาต้องสุกแก่ได้ อย่างสม่ำเสมอตามช่วงอายุ และเวลาที่กำหนด


• ใบยาที่สุกแก่ไม่สมบูรณ์ จะทำให้ได้ใบยาเนื้อทึบ กระด้างแข็ง ขาดความยืดหยุ่น ติดเขียว เนื้อ Slick
กลิ่นไม่ดี ไม่มีความหอม

• อุปสสรคที่จะทำให้การเก็บเกี่ยวไม่ถูกต้องและ
ผิดพลาด ได้ใบยาที่สุกแก่ไม่สมบูรณ์, จำสุก
-โรครบกวน
- การขาดน้ำ
- ธาตุอาหารไม่สมดุลย์, ไม่เพียงพอ
- สภาพดินฟ้าอากาศ อาทิ ร้อนแล้ง ฯลฯ
ยาสูบ ครบ (การดูแล, ประวัติยาสูบ, ฯลฯ)

http://paccapon.blogspot.com/…/08/predator-parasitoids.html

คู่มือบริหาร & จัดการยาสูบ
http://paccapon.blogspot.com/2017/06/blog-post_30.html?m=0

Thailand Tobacco 4.0
http://paccapon.blogspot.com/20…/…/thailand-tobacco-40.html




การปลูกยาสูบยังมี 2 รูปแบบ 
ที่เราพบเห็น

1) ยุคเก่า



2) ยุคใหม่









.............................


เก็บตก
การตรวจไร่ยาสูบ 
เมื่อวันที่ 24 ก.พ.2561 ที่ผ่านมา
วันที่พาตัวแทนชาวไร่จาก จ.เชียงราย
มาดูงานปลูกยาสูบที่ อ.ปัว
ยาสูบปลูกวันที่ 21 พ.ย.2560
อายุได้เกือบ 3 เดือนแล้ว



เป็นรุ่นยานา ที่ปลูกในดินนาป่า (นาแพะ)
เป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ (OM ต่ำ)
โครงสร้างดินไม่ค่อยดี แน่นทึบแข็งเวลาแห้ง



ลักษณะคล้ายดินทรายขาว เวลาเปียกน้ำจะเละ
ต้องเน้นการปรับสภาพโครงสร้างดิน
และจัดธาตุอาหารให้เพียงพอและสมดุลย์
ถึงจะได้ทั้งคุณภาพที่สูงและผลผลิตที่สูง





(สมัยเมื่อ 20 ปีที่แล้ว ดินประเภทนี้ จะปลูกยาสูบ
ได้ผลผลิตต่ำ แต่คุณภาพจะดี เพราะลักษณะดิน
จะมีธาตุไนโตรเจน (N)ต่ำ แต่มีธาตุโปแตสเซียม (K)
อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม)



(พาตัวแทนชาวไร่ยาสูบจาก จ.เชียงราย มาดูงานไร่ปลูกยาสูบที่ อ.ปัว)





..................

24 กุมภาพันธ์ 2561
ลงตรวจไร่ยาสูบ
ของนาย คล้าย ยาปัน
บ้านส้าน ต.สถาน อ.ปัว
รุ่นปลูกยานา วันที่ 21 พฤศจิกายน 2561
อายุยาสูบได้ 3 เดือน 28 วัน
ในพื้นที่ดินนาป่า (นาแพะ)
เก็บเกี่ยวใบยาสดไปได้ 3 ครั้ง (ไม่รวมยาตีนทราย)
เหลือใบยาประมาณต้นละ 10 กว่าใบ
การเติบโตปกติดี เนื้อใบยาหนา เรโชแคบ  โรคไม่รบกวน เพราะมีวัคซีนสร้างภูมิคุ้มกัน
การให้อาหารค่อนข้างครบถ้วน (อาจจะมีบางส่วนที่ขาดธาตุบางตัวไม่พอ)
ผลผลิตไม่น่าจะต่ำกว่า 2 กิโลกรัม/ต้น
ต้นที่เสียหายมีน้อยครับ


...................
จาก..ไร่ สู่..เตา





จากไร่ปลูก สู่.เตาบ่มใบยา







เกษตรกรเก็บเกี่ยวใบยาสดที่สุกแก่สมบูรณ์เสร็จ
ก็จะนำมาบ่มเพื่อแปรรูปให้เป็นใบยาแห้ง
ตามกระบวนการบ่มที่มีขั้นตอนต่างๆ
บ่มเสร็จก็นำออกจากเตา สู่ขั้นตอนการคัดแยกเกรด
เพื่อส่งขายให้กับโรงงานยาสูบต่อไป


ใบยาสดที่มีคุณภาพ เป็นที่พึงปรารถนา
เพราะจะนำมาซึ่งใบยาแห้งที่มีคุณภาพ
การทำผลผลิตใบยาสด/ไร่ ให้สูง
ควบคู่ไปกับคุณภาพที่สูง
จึงเป็นเรื่องที่ยากพอสมควร 



ถ้าหากเกษตรกรไม่เข้าใจอย่างแท้จริง
ผลที่ออกมามันจึงมักจะสวนทางกัน
เพราะพอทำใบยาสดให้ได้ผลผลิตสูง
ก็จึงมักจะมีใบยาสดคุณภาพต่ำตามมา
การทำให้ได้ทั้ง 2 อย่างควบคู่กัน
จึงเป็นเรื่องที่ต้องใส่ใจ ให้มีระบบแบบแผน
ซึ่งเกษตรกรที่เป็นผู้ลงมือปฏิบัติ
คือ..หัวใจสำคัญ อันดับแรก ในเรื่องนี้
ที่ต้องมีความเข้าใจในองค์ความรู้ต่างๆที่ถูกต้อง
จึงจะประสบความสำเร็จ


และ..ยังมีสิ่งที่สำคัญอีกอันหนึ่ง ที่ต้องกล่าวถึง
ซึ่งนับว่ามีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าเรื่องของ
การทำใบยาให้มี ”ผลผลิตที่สูงคู่กับคุณภาพที่สูง”
นั่นก็คือ..
การทำใบยาที่มีต้นทุนต่ำ
ดังนั้น..ใบยาสดต้องมีคุณภาพดีควบคู่กับ
อัตราแปรสภาพ (Ratio) ที่แคบด้วย
จึงจะช่วยให้ทุกฝ่ายอยู่รอดได้
ภายใต้การแข่งขันทางการตลาดที่สูง
(ขอบคุณเจ้าของภาพ : ยาสูบฤดูกาลนี้ปี 2560/61
ปลูกรุ่นต้นเดือนพฤศจิกายน 2560 ถ่ายภาพเมื่อ
18 ก.พ.2561)











☎️ 084-8809595, 084-3696633
📲Line ไอดี @organellelife.com (พิมพ์ @ด้วยนะครับ)
หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อน เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ https://lin.ee/nTqrAvO