FB

fbq('track', 'ViewContent');

วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

SARCON: is the Secret และ Salicylic acid : is Amazing

SILICON  IS  THE SECRET


·      The strengthening of epidermal cells in leaves and stems. Confers non lodging
·      It is important constituent of DNA and RNA, i.e. Silica deficiency decreases the synthesis of proteins and chlorophyll.
·      Decreasing  toxicity: Silica regulates plants uptake of iron, manganese and aluminium. The infamous toxicity of these elements in acid soil can be counteracted with soluble silica.
·      Improved plant growth and yield.: Published research catalogues increased root growth in grasses, spectacular yield increases for cucumbers (1500%), 30% to 50% in cane, and substantial increased yield in beets.
·      Increased rates of photosynthesis partially due to stronger stems producing more erect leaves, which capture more sunlight.
·         Improved reproduction: Studies have found enhanced pollination in tomatoes and better    pollen fertility in cucurbits.
·        Increases the grain yield and reduces  chaffiness.
·        Adjust and neutralize soil pH & improve overall soil structure
·        Improve efficiency of your conventional N-P-K fertilizer to increase nutrient uptake and      development of larger and more expansive root systems
·         Provide essential plant micronutrients
·         Facilitate tolerance to drought conditions and drainage in wet conditions
·         Increase beneficial microbial activity
·         Develops Larger, More Expansive Root Systems
·         Improves Phosphorus Uptake
·         Increases Resistance to Insects and Diseases
·         Enhances Drought Tolerance
·         Promotes Stronger Plants



RESPONSE TO SILICON APPLICATION
Greenhouse and Field experiments showed sustainable benefits of Si  fertilization for rice, barley, wheat, corn, sugarcane, cucumber, tomato, citrus and other crops (Epstein, 1999; Metchinkov et al., 1999).

ROLE  OF SILICON IN  ALLEVIATING  ABIOTIC  STRESS
        Silicon nutrition also alleviate many abiotic stresses including physical stress like lodging, drought, radiation, high temperatures, freezing, UV and chemical stress like salt, metal toxicity, nutrient imbalance and many others (Epstein, 1994). The beneficial effects are attributed to Si deposition in cell walls of roots, leaves, culms and hulls. Si deposition in roots reduces the binding sites for metals resulting in decreased uptake and translocation of salts and toxic metals from roots to shoot. Si alleviated effects have been associated with an increase in antioxidant defense abilities (Table.9).

SILICON  NUTRITION  AND  YIELD
        Silicon nutrition enhanced plant growth and yield. Application of organic siliceous materials like straw, husk, husk ash enhanced root length, shoot length, plant height, total and productive tillers per hill, filled grains and 1000 grain weight in rice. The increase was found in dry matter and yield. Inoculation of silicate solubilizing bacteria with these materials recorded further enhancement.

INDUCTION  OF  DISEASE  RESISTANCE  AND  DISEASE  SUPPRESSION
         The mechanism for Si-induced resistance to diseases is due to (i) Si acting as a physical barrier and (ii) soluble Si acting  as a modulator of host resistance to pathogen. Si is deposited beneath the cuticle to form a cuticle-Si double layer which mechanically impede penetration of fungi and thus disrupt the infection process. Silicon nutrition suppressed the leaf and neck blast, brown spot, sheath blight, leaf scald, grain coloration, stem rot, bacterial leaf blight and root knot nematode
infection in rice. Silicon nutrition was found to suppress ring spot in sugarcane, powdery mildews in cucumber, wheat, barely etc. rust in cowpea (Table.8).

SILICA  NUTRITION  REDUCES  PEST INCIDENCE
The silicon in plants was found to alleviate many biotic and abiotic stresses, leading to application of slicates either directly to crops or incorporate it into the fertilizers applied
White fly (Bemisia tabaci) is an important pest assuming greater portion now a days in several crops like cucumber, cotton, sugarcane etc. feeding and the excreted honey dew of this insect lead to the formation of sooty moulds which reduces photoreception mechanically and reduces yield. These insects also transmit viral diseases. Infestation by this aleyrodid pest can significantly inhibit plant growth leading to plant death (Rogerio et al., 2005). Both soil and foliar application of silicon as calcium silicate increased the mortality by nymphs of white fly (Table.6)

Reference : SILICON Solution for tomorrow Compiled by  Dr.Venkatesh Devanur Director R & D RADOSOM  Govt of India, Dept of Scientific & Industrial Research Recognized in-house R&D Centre of SOM Phytopharma (India) Limited





-ช่วยกระตุ้นการสร้างระบบรากให้มากและแพร่กระจาย

-ช่วยเพิ่มความต้านทานต่อสภาวะความแห้งแล้ง( Drought Tolerances)

-ช่วยให้พืชคายน้ำน้อยลง(แม้อุณหภูมิตอนกลางวันสูงถึง 38 องศาเซลเซียส) พืชจึงทนต่อสภาพแห้งแล้งได้ดีขึ้น

-ช่วยให้ผนังเซลล์แข็งแรง ทำให้แมลงเจาะดูดน้ำเลี้ยงได้ยากลำบากขึ้น จึงทนทานต่อการถูกทำลายเสียหาย



-ช่วยปลดปล่อยฟอสฟอรัส ในดินให้พืชสามารถใช้งานได้

-ช่วยเพิ่มอัตราการสังเคราะห์แสงของพืช  ทำให้ลำต้นพืชแข็งแรง

-ช่วยให้ผนังเซลล์ของพืชแข็งแรง ลำต้นไม่หักล้มง่าย

-ช่วยเพิ่มอัตราการงอกของยอดอ่อน เพิ่มความหนาแน่นของระบบราก

-ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าแทนที่ของอิออนบวกในดิน เพิ่มประสิทธิภาพของธาตุบำรุงพืช

-ช่วยเพิ่มการเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตในพืชหลายๆชนิด อาทิเช่น ในหญ้า ( 1,500%),แตงกวา (30%), อ้อย (50%) และในผักกาดหวาน

-ช่วยเพิ่มผลผลิตในธัญพืชทั้งหลาย

-ช่วยดูดซับพิษจากโลหะ เช่น อลูมิเนียม สนิมเหล็ก โซเดียม แมงกานีส








ซาร์คอน (SARCON) : หนึ่งในใจชาวไร่มันสำปะหลัง

1) Revitalize ระบบเซลล์ราก (รากมาก รากเยอะ รากแข็งแรง) และพร้อมที่จะเป็นรากสะสมอาหาร(Tuberous root )เป็นส่วนใหญ่

2) Systemic Acquired Resistances (SAR)  กระบวนการสร้างภูมิต้านทานโรคเสมือนพืชได้รับ "วัคซีน" (โรคใบไหม้ โรครากเน่า โรคหัวเน่า โรคเหี่ยวเฉา บรรเทาและเบาบาง ลงไป)

3) Drought Tolerance  พืชทนทานความแห้งแล้ง ความร้อนของอากาศ ทนทานต่อการเหี่ยว การขาดแคลนน้ำ ได้ดีขึ้น

4) Agglomeration  กระบวนการสร้างผลึกแข็ง( Colliods Aggregrate) ของ Orthosilisic acidเพื่อไปสะสมที่ผนังเซลล์ (Cell Wall)ทำให้ผนังเซลล์แข็งแกร่งดุจคอนกรีต ป้องกันเพลี้ยต่างๆอาทิ ที่จะมาเจาะดูดน้ำเลี้ยงและปล่อยเชื้อไวรัสและลำต้นพืชแข็งแรงไม่หักล้มง่าย


5) Detoxicity  ช่วยทำลายสารพิษตกค้าง รวมทั้งธาตุโลหะหนักในดินที่จะทำอันตรายให้แก่พืช โดยการจับยึดสารพิษไว้

6) Liberation of Nutrient  ช่วยปลดปล่อยธาตุอาหารที่ถูกตรึงไว้ในดิน อาทิ ฟอสเฟต เป็นต้น

7) Increased rates of photosynthesis  ช่วยเพิ่มอัตราการสังเคราะห์แสงของพืช ทำให้พืชเจริญเติบโตได้ดี

8) Decreased rates of transpirationช่วยให้พืชคายน้ำน้อยลง(แม้อุณหภูมิตอนกลางวันสูงถึง 38 องศาเซลเซียส) พืชจึงทนต่อสภาพแห้งแล้งได้ดีขึ้น



สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม 
084-8809595 , 084-3696633
Line ID : @organellelife.com (อย่าลืม พิมพ์ @ ด้วยครับ )





ซาร์คอน(SARCON) : หนึ่งในใจพืชเสมอ

-ช่วยกระตุ้นภูมิต้านทานเชื้อโรค (Systemic acquired resistance : SAR)

-ช่วยเพิ่มการสร้างเซลล์ที่เสื่อมสภาพให้เป็นเซลล์ใหม่(Revitalize)

-ช่วยเพิ่มการออกดอก  การแตกราก และการแตกใบของพืช

-ช่วยเพิ่มคลอโรฟิลด์ให้พืช

-ช่วยเพิ่มความทนทานต่อสภาพแล้ง (Drought Tolerance)

-ช่วยเพิ่มระบบการหมุนเวียนน้ำ(Water Circulation)ในระบบท่อลำเอียง(Vascular Tube)

-ช่วยลดกระบวนการหายใจของเซลล์  รักษาคุณภาพและยืดอายุผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว ไม่ให้เน่าเสียเร็ว 

-ช่วยคงความแน่นของเนื้อผล การเปลี่ยนแปลงสี และปริมาณของแข็งที่ละลายในน้ำ  

-ช่วยลดความเสียหายจากความเย็น (Cold Injury) 

-ช่วยการเปิด-ปิดของปากใบ การงอกของเมล็ด การดูดซับประจุ การแสดงออกของเพศ

-ช่วยยับยั้งการสังเคราะห์และกระบวนการทำงานของเอทธิลีน ที่ทำให้ผลไม้สุกเร็ว ชะลอการสุกของผลไม้

-ช่วยเพิ่มจำนวนฝักและผลผลิตของถั่วเขียว

-ช่วยเพิ่มอัตราการสังเคราะห์แสงและปริมาณของคลอโรฟิลด์

-ช่วยกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ในกระบวนการสังเคราะห์ฟลาโวนอยด์ 


-ช่วยปลดปล่อยฟอสฟอรัส ในดินให้พืชสามารถใช้งานได้

-ช่วยเพิ่มอัตราการสังเคราะห์แสงของพืช (Increased rates of photosynthesis)

-ช่วยดูดซับพิษจากโลหะ เช่น อลูมิเนียม สนิมเหล็ก โซเดียม แมงกานีส (Decreasing  toxicity: Al,Fe,Mn)

-ช่วยให้พืชคายน้ำน้อยลง(แม้อุณหภูมิตอนกลางวันสูงถึง 38 องศาเซลเซียส) พืชจึงทนต่อสภาพแห้งแล้งได้ดีขึ้น

-ช่วยให้ผนังเซลล์ของพืชแข็งแรง ลำต้นไม่หักล้มง่าย(The strengthening of epidermal cells in leaves and stems)

-ช่วยให้ผนังเซลล์แข็งแรงทำให้แมลงเจาะดูดน้ำเลี้ยงได้ยากลำบากขึ้น จึงทนทานต่อการถูกทำลายเสียหาย
-ช่วยเพิ่มอัตราการงอกของยอดอ่อน เพิ่มความหนาแน่นของระบบราก

-ช่วยเพิ่มความต้านทานต่อสภาวะแห้งแล้ง (Enhances Drought Tolerance)

-ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าแทนที่ของอิออนบวกในดิน เพิ่มประสิทธิภาพของธาตุบำรุงพืช


สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม 
084-8809595 , 084-3696633
Line ID : @organellelife.com (อย่าลืม พิมพ์ @ ด้วยครับ)








SARCON  :For Tuber Crop ( Cassava, Sweet Potato, Potato, Onion, Garlic, Taro Etc.) 
SARCON   is a formulation based on Orthosilicic Acid (OSA) chemistry fortified with boosters known to have beneficial results on Tuber Cassava/ Sweet Potato/Potato crops.
 SARCON  enhances sprouting of buds from seed tubers resulting in early development of seedlings. Such seedlings are characterized by strong root system which facilitate better nutrient uptake. 
SARCON  also ensures well-expanded leaves with higher chlorophyll content leading to increased rate of photosynthesis and hence sugar content in leaves and Cassava/Sweet Potato/Potato crop.
 SARCON  has inherent  benefits of Orthosilicic Acid, which enhances plant resistance against abiotic stresses like temperature fluctuations, water shortage / excess and metal toxicity. This has proven results in lowering incidences of external and internal defects in the tubers leading to better market acceptability.





ซาร์คอน (SARCON)
สำหรับพืชหัวทุกชนิด (มันสำปะหลัง,มันเทศ, มันฝรั่ง,หอม,กระเทียม,เผือก ฯลฯ)
ซาร์คอน (SARCON) ประกอบด้วยออโธ่ซิลิซิค แอซิด ที่มีประโยชน์ต่อการเสริมสร้างความแข็งแกร่งและส่งเสริมให้พืชหัวแข็งแรง
ซาร์คอน (SARCON) ช่วยในการแตกตาแตกหน่อให้ดีขึ้น ในช่วงของการพัฒนามาเป็นต้นกล้า ลักษณะของระบบรากจะแข็งแรง อันจะทำให้การดูดกินธาตุอาหารได้ดีขึ้น
ซาร์คอน (SARCON) ช่วยให้ใบพืชจะขยายใบให้ใหญ่ดีขึ้น มีคลอโรฟิลด์เพิ่มขึ้น ทำให้อัตราการการสังเคราะห์แสงดีเพราะฉะนั้นจึงมีปริมาณน้ำตาลเพิ่มขึ้น 
ซาร์คอน (SARCON) จึงมีคุณประโยชน์ประจำตัวของออโธ่ซิลิซิค แอซิด ซึ่งช่วยให้พืชมีภูมิต้านทานต่อความเครียดจากสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิตได้ อาทิ ความผันผวนของอุณหภูมิ  ปัญหาการขาดแคลนน้ำ พิษจากโลหะหนัก เป็นต้น สิ่งนี้ได้พิสูจน์ผลในการลดอัตราการเกิดข้อบกพร่องภายในและภายนอกของหัวที่นำไปสู่การยอมรับของตลาดที่ดีขึ้น






SARCON :  EFFICACY OF  AVAILABILE  SILICA ON THE  SUGARCANE (สำหรับอ้อย)

SARCON is a unique formulation based on Orthosilicic Acid (OSA) chemistry fortified with boosters  known to have beneficial results on sugarcane crops.
Dipping of sugarcane sets in SARCON   enhances germination ratio, leaf area and plant height. SARCON  also has proven results in increasing  millable cane yield and sugar yield.
SARCON  also has inherent benefits of Orthosilicic Acid (OSA), which enhances plant resistance against diseases and abiotic stresses like temperature fluctuations, water shortage / excess and regulates nutrient uptake from the soil.
Application of SARCON : as foliar spray on SARCON  resulted in to more than 20% cane  yield, 21% sugar yield along with increased tillering ratio.


ซาร์คอน(SARCON ) ประสิทธิภาพของ ซิลิก้า ที่เป็นประโยชน์ต่ออ้อย
ซาร์คอน (SARCON )เป็นซิลิคอนที่อยู่ในรูปของ  Orthosilicic Acid (OSA) ที่มีประโยชน์และให้ผลดีต่ออ้อย
จุ่มชุดอ้อยใน ซาร์คอน(SARCON ) เพื่อช่วยเพิ่มอัตราการงอก ช่วยเพิ่มพื้นที่ของใบ ทำให้ใบใหญ่ขึ้น และช่วยความสูงของอ้อยด้วย 
ซาร์คอน(SARCON )  ยังได้รับการพิสูจน์ผลในการเพิ่มผลผลิตอ้อย(น้ำหนักลำที่มีน้ำอ้อยตัดส่งโรงงาน) และปริมาณของผลผลิตน้ำตาล
 ซาร์คอน (SARCON ) ยังมีประโยชน์ตามคุณสมบัติของ Orthosilicic Acid (OSA) ซึ่งจะช่วยเพิ่มความต้านทานต่อโรคและความเครียด Abiotic เช่น ความผันผวนของอุณหภูมิ การขาดแคลนน้ำ ส่วนเกินของธาตุอาหารและการควบคุมการดูดซึมธาตุอาหารจากดิน
การใช้ ซาร์คอน (SARCON ) ฉีดพ่นทางใบใน อ้อยส่งผลให้มีผลผลิตอ้อยเพิ่มมากขึ้นกว่า 20% ปริมาณผลผลิตน้ำตาล 21% พร้อมกับอัตราการแตกกอเพิ่มขึ้น








Salicylic acid : is Amazing

Salicylic Acid : An Amazing Plant Hormone.
ZIGNA,SARCON,ERASER-1,CARBOXYL-PLUS: Very Very Amazing !!

Study after study, it has been shown that salicylic acid causes great things to happen to various species of plants. Such things as:
  Increased Roots
  Increased Foliage
  Increased Fruit
  Increased Flowers
  Increased Resistance to Pathogens
  Increased Chlorophyll
  Increased shoots, ability to root, and more... 
  Increased Drought Tolerance
  Increased Water Circulation in Vascular Tube
  Increased Revitalize Cell


     There are thousands of different growth hormones that regulate plant biomass production. The most abundant of these is indole-3-acetic acid. Salicylic acid is NOT responsible for regulating root production though, that is blatantly incorrect. It is responsible for chloroplast augmentation to alter rates of transpiration and photosynthesis.

      It might be well known to some that salicylic acid is a plant growth regulator, and if used properly will increase root, foliage and fruit growth of plants. 
      Aqueous solutions of SA, applied as a spray to the shoots of soybean (Glycine max (L.) Merr. cv. Cajeme), significantly increased the growth of shoots and roots as measured after seven days of treatment. Shoot spraying of SA had no significant effect on photosynthetic  rate. Growth  increases were obtained in plants cultivated either in the greenhouse or in the field; SA-induced increases in root growth of up to 100% were measured in the field.
http://www.sciencedirect.com/science?_ob=ArticleURL&_udi=B6VRD-3W292CP-28&_user=10&_coverDate=08%2F31%2F1998&_rdoc=1&_fmt=high&_orig=search&_sort=d&_docanchor=&view=c&_searchStrId=1223007067&_rerunOrigin=google&_acct=C000050221&_version=1&_urlVersion=0&_userid=10&md5=99b317d10df99ade07f9800db2e20466




This study was conducted to determine the effect of foliar salicylic acid (SA) applications on fruit quality, growth and yield of tomato under greenhouse conditions in 2006 and 2007. In the study, fruit diameter, fruit length, fruit weight, fruit number per plant, Vitamin C, pH, Total Soluble Solids (TSS), titratable acidity (TA), stem diameter, leaf dry matter ratio, chlorophyll content, early yield and total yield were determined. Tomato plants were treated with foliar SA applications at different concentrations (0.00, 0.25, 0.50 and 1.00 mM). SA was applied with spraying four times during the vegetation at 10-day intervals two weeks after planting. In the study, it was determined that foliar applications of SA showed positive effect on some fruit characteristics, plant growth, chlorophyll content in leaves, early yield and total yield. SA treatments had no effect on pH, AA and TA of tomato. Total soluble solids (TSS) increased with foliar SA applications. The greatest stem diameter, leaf dry matter and chlorophyll content were obtained from 0.50 mM SA treatment. SA treatments increased the early yield of tomato compared to the control. The yield of tomato was significantly influenced by foliar SA applications. The highest yield occurred in 0.50 mM SA treatment.According to our results, applications of 0.50 mM SA should be recommended in order to improve yield. 
 http://www.actahort.org/members/showpdf?booknrarnr=807_56


        
Here's what I was trying to say; the SA may be responsible for shoot growth, which in turn releases alternate regulatory hormones within the plant that stimulate root growth. Exogeneous application of SA apparently does increase root growth, but not because it's directly responsible for regulating the rate of cell division in the root zone, but because it's responsible for rate of shoot development. When a plant has overwhelming  shoot:root mass ratio, alternative Cytokinins are released within the plant that signal increased root development. 

So in conclusion, yes, it does increase the growth of roots, but it's not responsible for it. SA is not a hormone that codes for increased root growth, and by the biological definition of the phrase we can't say it's "responsible," even though it certainly influences.   
       Either way, I hope that SA could some How be of use for growing certain plants.
       I'm a big fan of using hormones to try and increase the growth rate of plants. Check out "roots excelurator" by house and garden. It's a hormonal product, and I've never seen root growth like this product encourages


Salicylic acid is an important signal molecule in plant defense. In the past two years, significant progress has been made in understanding the mechanism of salicylic acid biosynthesis and signaling in plants. A pathway similar to that found in some bacteria synthesizes  Salicylic acid from Chorismate via Isochorismate. Salicylic acid signaling is mediated by at least  two mechanisms, one requiring the NON-EXPRESSOR OF PR1 (NPR1) gene and a second that is independent of NPR1. Feedback loops involving salicylic acid modulate upstream signals. These feedback loops may provide a point for integrating developmental, environmental and other defense associated signals, and thus fine tune the defense responses of plants.



-ช่วยกระตุ้นภูมิต้านทานเชื้อโรค (Systemic acquired resistance : SAR)

-ช่วยเพิ่มการสร้างเซลล์ที่เสื่อมสภาพให้เป็นเซลล์ใหม่(Revitalize)

-ช่วยเพิ่มการออกดอก  การแตกราก และการแตกใบของพืช

-ช่วยเพิ่มคลอโรฟิลด์ให้พืช

-ช่วยเพิ่มความทนทานต่อสภาพแล้ง (Drought Tolerance)

-ช่วยเพิ่มระบบการหมุนเวียนน้ำ(Water Circulation)ในระบบท่อลำเอียง(Vascular Tube)

-ช่วยลดกระบวนการหายใจของเซลล์  รักษาคุณภาพและยืดอายุผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว ไม่ให้เน่าเสียเร็ว 




-ช่วยคงความแน่นของเนื้อผล การเปลี่ยนแปลงสี และปริมาณของแข็งที่ละลายในน้ำ  

-ช่วยลดความเสียหายจากความเย็น (Cold Injury) 

-ช่วยการเปิด-ปิดของปากใบ การงอกของเมล็ด การดูดซับประจุ การแสดงออกของเพศ

-ช่วยยับยั้งการสังเคราะห์และกระบวนการทำงานของเอทธิลีน ที่ทำให้ผลไม้สุกเร็ว ชะลอการสุกของผลไม้

-ช่วยเพิ่มจำนวนฝักและผลผลิตของถั่วเขียว

-ช่วยเพิ่มอัตราการสังเคราะห์แสงและปริมาณของคลอโรฟิลด์

-ช่วยกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์ในกระบวนการสังเคราะห์ฟลาโวนอยด์ 







สอบถามข้อมูล
084 -8809595, 084-3696633
Line ID : @organellelife.com  (มี@ด้วยครับ)

www.organellelife.com
www.facebook.com/organellelife.org

วันอังคารที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

ทำไม..ถึงต้องใช้ "ซาร์คอน" (SARCON) และ "แอคซอน"(AXZON)

ทำไม..ถึงต้องใช้ "ซาร์คอน" (SARCON) ?...แช่ท่อนพันธุ์

แช่.."ซาร์คอน" (SARCON)?...แล้วดีอย่างไร ?

ตอบไม่ยาก หากเราเข้าใจและศึกษามันดีๆ




เหตุที่ต้องแช่ "ซาร์คอน" ก็เพราะว่า "ซาร์คอน" ช่วยให้มันสำปะหลังของท่าน "รากดก รากสมบูรณ์ รากแข็งแรง" อีกทั้งยังช่วยสร้างภูมิต้านทาน (Systemic Acquired Resistance:SAR) เพื่อป้องกันโรคและแมลง ตลอดจนช่วยให้พืชของท่านทนทานต่อสภาพแล้ง (Drought Toterance) ได้ดีขึ้นอีกด้วย

"ซาร์คอน" เป็นกรดอินทรีย์สังเคราะห์ที่มีประโยชน์มากมาย ทั้งต่อกระบวนการ "Revitalize" เซลล์ราก และการแช่ "ซาร์คอน" ส่วนหนึ่งก็เพื่อให้ได้รากที่ดี รากที่เยอะ รากที่สมบูรณ์และที่สำคัญรากนั้นๆต้องพร้อมที่จะเป็นราก "Tuberous root" (รากสะสมอาหาร) ให้ได้ปริมาณที่มากพอจากกระบวนการทำงานในระบบเซลล์รากที่สมบูรณ์ถูกต้อง ซึ่งถ้าพืชมี "ระบบราก" ที่ดีและสมบูรณ์ก็จะนำมาซึ่งผลผลิตที่สวยงามและคุ้มค่ากับการลงทุน






"ซาร์คอน" (SARCON)?..ยังทำหน้าที่เป็นสารกระตุ้นการเจริญเติบโต (Plant Growth Stimulating) และสร้างภูมิต้านทานโรคต่างๆ( Systemic Acquired resistance: SAR) เพื่อให้พืชเสมือนได้รับ "วัคซีน" ป้องกันโรคต่างๆ อีกทั้งยังช่วยในการสร้างผนังเซลล์(Cell Wall) ให้แข็งแกร่งดั่งคอนกรีตด้วย Silicon(ในรูป Orthosilicic acid) เพื่อเป็นเกราะป้องกันเพลี้ยและแมลงต่าง ๆ ไม่ให้เข้าทำลายพืชได้ ตลอดจนที่สำคัญในปัจจุบันกับปัญหาเรื่อง"ภาวะแล้ง" (Drought Stress).. เป็นภัยธรรมชาติที่เราไม่สามารถจะควบคุมได้ แต่..สิ่งหนึ่งที่เราพึงกระทำได้นั่นก็คือการสร้าง "ความทนทานต่อสภาพแล้ง" ( Drought Tolerance) ให้แก่พืชด้วยการใช้ "ตัวช่วย" บางอย่างที่สำคัญนั่นก็คือ การใช้กรดอินทรีย์บางตัวที่มีอยู่ใน "ซาร์คอน" (Hydroxybenzoic acid) ซึ่งได้ทำงานตามหน้าที่ของเขาก็เป็นทางออกอีกทางหนึ่งเท่าที่มีที่เราจะสามารถช่วยพืชได้ในภาวะที่พืชขาดน้ำในช่วงระยะสำคัญของการเจริญเติบโต(Vegetative Growth Stage) "ตัวช่วย" นี้จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อไม่ให้กลไกในกระบวนการทำงานภายในของพืชเกิดการสะดุดหรือเสียหายลงไป และ..นี่จึงเป็นคำตอบเดียวที่ว่า.. "ทำไม..หลายๆคนจึงต้องใช้ "ซาร์คอน" แช่ท่อนพันธุ์ และฉีดพ่นต้นมันสำปะหลังด้วย "ซาร์คอน" ตลอดไป












สรุป: หน้าที่หลักๆบางอย่างของ"ซาร์คอน"

1) Revitalize ระบบเซลล์ราก (รากมาก รากเยอะ รากแข็งแรง) และพร้อมที่จะเป็นรากสะสมอาหาร(Tuberous root )เป็นส่วนใหญ่

2) Systemic Acquired Resistances (SAR) กระบวนการสร้างภูมิต้านทานโรคเสมือนพืชได้รับ"วัคซีน" (โรคใบไหม้ โรครากเน่า โรคหัวเน่า โรคเหี่ยวเฉา บรรเทาและเบาบาง ลงไป)

3) Drought Tolerance พืชทนทานความแห้งแล้ง ความร้อนของอากาศ ทนทานต่อการเหี่ยว การขาดแคลนน้ำ ได้ดีขึ้น

4) Agglomeration กระบวนการสร้างผลึกแข็ง( Colliods Aggregrate) ของ Orthosilisic acidเพื่อไปสะสมที่ผนังเซลล์ (Cell Wall)ทำให้ผนังเซลล์แข็งแกร่งดุจคอนกรีต ป้องกันเพลี้ยต่างๆอาทิ ที่จะมาเจาะดูดน้ำเลี้ยงและปล่อยเชื้อไวรัส

5) Detoxicity ช่วยทำลายสารพิษตกค้าง รวมทั้งธาตุโลหะหนักในดินที่จะทำอันตรายให้แก่พืช โดยการจับยึดสารพิษไว้

6) Liberation of Nutrient ช่วยปลดปล่อยธาตุอาหารที่ถูกตรึงไว้ในดิน อาทิ ฟอสเฟต เป็นต้น


























สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
084-8809595 , 084-3696633
Line ID : @organellelife.com (อย่าลืม ใส่@ หน้าorganellelife.com ด้วยนะครับ)

www.organellelife.com
http://www.organelle1.blogspot.com/2015/08/tuberization.html
http://www.organelle1.blogspot.com/2016/02/blog-post_14.html





ทำไม..ถึงต้องใช้ "แอคซอน" (AXZON) ?..สั่งมันลงหัว

ใช้.."แอคซอน" (AXZON) แล้วดีอย่างไร ?

ตอบไม่ยาก หากเข้าใจและศึกษามันดีๆ




แอคซอน (AXZON) : มีบทบาทต่อการทำงานในกระบวนการ Tuberization (ลงหัว)

แอคซอน (AXZON) คือส่วนหนึ่งที่เป็นหัวใจสำคัญของกระบวนการ Tuberization (กระบวนการลงหัว)

เหตุที่ต้องใช้ "แอคซอน" ก็เพราะว่า "แอคซอน" (AXZON) เป็นสารสำคัญที่ช่วยให้มัน "ลงหัว" ช่วยให้มันสำปะหลังของท่านลงหัวเร็ว ลงหัวดี "หัวดก หัวใหญ่" ตลอดจนถึงยังช่วยให้มันสำปะหลังของท่านทนทานต่อสภาพแล้ง (Drought Toterance) ได้ดีขึ้นอีกด้วย

"แอคซอน" (AXZON) : ไม่ใช่ปุ๋ยน้ำ ไม่ใช่ปุ๋ยเหลว ไม่ใช่ปุ๋ยเทวดา ไม่ใช่ฮอร์โมนนางฟ้า ไม่ใช่สารจากดาวอังคาร หรือสารนาโนใดๆทั้งสิ้น

แต่.."แอคซอน" (AXZON) คือกรดอินทรีย์สังเคราะห์ (The Synthesis of Organic acid)ที่จำเป็นและที่มีประโยชน์หลายๆตัว ซึ่งทำหน้าที่สำคัญต่อการทำงานในกระบวนการลงหัว (Tuberization) ซึ่งเป็นกระบวนการสำคัญในพืชลงหัวทุกชนิดที่จะขาดเสียมิได้




กระบวนการ "TUBERIZATION"

เป็นกระบวนการที่เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับเซลล์เนื้อเยื่อเจริญ (Meristem cell) ที่อยู่บริเวณปลายรากของมันสำปะหลังเมื่อมันได้รับสารบางตัวใน "แอคซอน" (AXZON) ซึ่งเป็นเสมือนฮอร์โมนที่จำเป็นที่ทำให้เซลล์ดังกล่าวก็จะขยายตัว (Cell Enlargement) เพื่อรองรับการสะสมแป้งและโปรตีนอีกทั้งเซลล์ก็ยังจะแบ่งตัว (Cell Division) ในแนวขวาง (Lateral Growth) และหยุดการแบ่งตัวในแนวยาว (Elongation Growth)เพื่อให้เกิดการขยายเซลล์รากให้บวมขึ้นเป็นหัว (Tuber) และเปลี่ยนหน้าที่เซลล์ (Cell Differentiate) เพื่อทำให้ Stolon หรือ Root เปลี่ยนมาทำหน้าที่สะสมอาหารแทน

กระบวนการลงหัว (Tuberization) จะดีขึ้นและหัวมีขนาดใหญ่ขึ้นหรือไม่ ยังขึ้นอยู่กับระดับน้ำตาลในต้นมันสำปะหลังด้วย ดังนั้นการสังเคราะห์แสง(Photosynthesis) ที่ดีและสมบูรณ์จะช่วยให้การลงหัวดีและสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ดังนั้นการที่เราอาจจะเลียนแบบธรรมชาติโดยการไม่ต้องพึ่งพาการสังเคราะห์แสงแต่เพียงอย่างเดียว แต่มีการเลียนแบบธรรมชาติโดยการให้น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว(Momosaccharides)ตัวเดียวกันกับที่พืชสังเคราะห์แสงเองได้ ป้อนให้กับมันสำปะหลังด้วยก็จะช่วยให้มีการลงหัวที่ดีขึ้นและสุดยอดขึ้น( ดังนั้นการใช้ "ซูการ์-ไฮเวย์" (ZUKAR-Highway) ร่วมด้วยจึงมีผลดีอย่างยิ่งต่อมันสำปะหลัง)




“Photoperiod” : ในธรรมชาติ “Photoperiod” หรือระยะเวลาที่พืชได้รับแสงต่อวันและอุณหภูมิจะมีผลต่อการลงหัวของพืชตระกูลที่มีการลงหัว เมื่อช่วงเวลารับแสงเหมาะสม และอุณหภูมิที่ลดต่ำลงพืชจะสังเคราะห์ “Jasmonic acid” (JA) ที่ใบและหลังจากนั้นก็จะถูกเคลื่อนย้ายไปยังลำต้นที่ทอดเป็นแนวราบไปตามดิน (Stolon) หรือราก (Root) จนทำให้เกิดหัวเป็นแนวรัศมี (Radial Growth) เป็นจำนวนมาก

“การลงหัว”(Tuberization) : เกิดจากการเปลี่ยนแปลงระดับเซลล์ที่เซลล์เนื้อเยื่อเจริญ (Subapical meristem cell) ที่อยู่บริเวณปลายรากและปลายยอดของพืช หลังจากได้รับ JA ในปริมาณที่เหมาะสม ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่โครงสร้างเซลล์ดังนี้


1. Cell Enlargement (การขยายตัวของเซลล์) : เซลล์จะมีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อรองรับการสะสมแป้งและโปรตีน

2. Cell Division (การแบ่งตัวของเซลล์) : เซลล์เริ่มแบ่งตัวในแนวขวาง (Lateral) และหยุดแบ่งตัวในแนวยาว (Elongation) ทำให้เกิดลักษณะบวมขึ้นเป็น “หัว”


3. Cell Differentiation (การเปลี่ยนสภาพและหน้าที่) : ทำให้เกิดการเปลี่ยน Stolon หรือ Root ไปทำหน้าที่ให้เหมาะสม สะสมอาหารและเซลล์ท่อลำเลียง (Vehicle tube Cell) ก็เปลี่ยนสภาพเพื่อทำให้การลำเลียงอาหารมาสะสมที่หัวอย่างมีประสิทธิภาพ,สะดวกและง่ายขึ้น อาหารถูกสะสมได้มากขึ้นที่หัว และการสังเคราะห์แสงเพื่อให้ได้ปริมาณระดับน้ำตาลที่สูงจะช่วยให้การลงหัวดีและมีขนาดใหญ่ขึ้น



ไม่ว่าจะไปปลูกพืชอะไรๆ ที่ไหนๆ ปัจจัยอื่นๆจะเป็นอย่างไร และแตกต่างกันอย่างไร ไม่ว่าจะเป็นความแตกต่างเรื่องพันธุ์ เรื่องดิน เรื่องน้ำ ซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม อาทิ สภาพดินฟ้าอากาศ อาจร้อนแล้งหรือหนาวเย็น หรือสภาพพื้นที่ สภาพที่ดิน สภาพการดูแลปฏิบัติ และอื่นๆ แต่สิ่งที่ยังคง "เหมือนกัน" อยู่ไม่ว่าจะปลูกพืชที่ใดและมีปัจจัยอื่นๆแตกต่างกันอย่างไรก็ตามทีนั่นก็คือ "กระบวนการทำงานต่างๆภายในของพืช" ทั้งทางด้าน Physiological ,Biological หรือ Biochemical ก็ยังคงเป็นกระบวนการเดิมเหมือนกัน เพียงแต่กระบวนการทำงานต่างๆของพืชเหล่านี้ของมันจะทำงานได้อย่างสมบูรณ์และเป็นปกติได้หรือไม่ หรือจะทำอย่างไรให้มันมีประสิทธิภาพมากที่ดีที่สุดให้ได้ก็เท่านั้น ซึ่งเราต้องติดตามดูกันอย่างใกล้ชิดและเข้าใจต่อไป




สำหรับ..มันสำปะหลัง "รากคือหัว หัวคือราก" แต่..รากทุกราก จะเป็นหัวหรือไม่ มีปัจจัยหลายอย่างเป็นตัวแปร

แต่ถ้าจะหา "ตัวช่วย" ที่ใช่ ให้มันลงหัวสมบูรณ์ "หัวดก หัวใหญ่ ลงหัวไว"

โปรดให้ความไว้วางใจใน "แอคซอน" (AXZON) : สารสำคัญในกระบวนการลงหัว( Tuberization) ให้ทำหน้าที่สำคัญ เพื่อ "ประกันมันลงหัว" ของท่านต่อไป








































สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม 
084-8809595 , 084-3696633
Line ID : @organellelife.com (อย่าลืม ใส่@ หน้าorganellelife.com ด้วยนะคะ)

www.organellelife.com
http://www.paccapon.blogspot.com/2015/08/tuberization.html
http://www.paccapon.blogspot.com/2015_11_01_archive.html