FB

fbq('track', 'ViewContent');

วันพฤหัสบดีที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2561

ยางพาราเปลือกแห้ง เปลือกแตก

อาการเปลือกแห้งเปลือกแตกของต้นยางพารา


Cr ภาพ : Somkiat Saosiri

สาเหตุอีกสาเหตุหนึ่ง
ในหลายๆ สาเหตุ ซึ่งมีผลต่อ
อาการเปลือกแตกของต้นยางพารา
ซึ่งน่าจะมาจากการทำงานที่ผิดปกติทาง Physiological (สรีรวิทยา) ของต้นยาง
ในส่วนของ Water Circulation (การไหลเวียนของระบบหมุนเวียนน้ำและสารอาหารในท่อลำเลียงของพืช) เกิดมีปัญหา ทำให้การหมุนเวียนน้ำและสารอาหารไปหล่อเลี้ยงเซลล์เนื้อเยื่อของเปลือกยางไม่สะดวกและสมบูรณ์เพียงพอ จึงทำให้เกิดอาการเปลือกแห้งและแตกออกได้



Cr ภาพ : Somkiat Saosiri

บทบาทและหน้าที่
หนึ่งในหลายๆหน้าที่ของกรดอินทรีย์ในกลุ่ม "ไฮดร๊อกซี่ แอซิด" (Hydroxy acid group)
ที่มีอยู่ใน "อีเรเซอร์-1" (Eraser-1) คือ..จะทำหน้าที่กระตุ้นให้เซลล์ สร้างโปรตีนบางตัวและสารสำคัญต่างๆบางอย่างออกมาเพื่อสมานแผลจากการกรีด และป้องกันโรคแทรกซ้อนที่เข้าทำลายต้นยาง ตลอดจนช่วยสร้างหน้ายางใหม่ขึ้นมาทดแทนอย่างรวดเร็วและสมบูรณ์

กลไกการป้องกันตนเองของต้นยางพารา
ด้วยกรดอินทรีย์สังเคราะห์ Hydroxy acid group
- กระตุ้นการสมานแผลจากการกรีด โดยกระตุ้นการสร้างและสะสม lignin เพื่อเสริมความแข็งแรงที่ผนังเซลล์
- กระตุ้นการสร้าง phenolics ,phytoalexin , PR-proteins เพื่อช่วยป้องกัน เชื้อโรคแทรกซ้อนจากบาดแผลที่กรีด
- กระตุ้นให้เกิดการหมุนเวียนของน้ำและสารอาหาร (water circulation ) ในระบบท่อลำเลียงดีขึ้นและมากขึ้น
- เพิ่มการแบ่งเซลล์ (Cell Division) ของเยื่อเจริญ (Cell Cambium) สร้างเป็นหน้ายางใหม่ได้เร็วขึ้น และรักษาสมดุลของเซลล์ ทำให้การแบ่งเซลล์สมบูรณ์ไม่ผิดรูปร่าง
- ฟื้นฟูสภาพและการทำหน้าที่ต่างๆของเซลล์ให้กลับมาเป็นปกติเสมือนเซลล์ใหม่ (revitalize)

http://paccapon.blogspot.com/2015/02/hydroxy-acid.html (Hydroxy acid และ Malate)





สอบถามเพิ่มเติม
📞084-8809595, 084-3696633
📱Line ID : @organellelife.com (อย่าลืมพิมพ์ @ ด้วยครับ)

หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อนใน Line@ เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ
https://lin.ee/nTqrAvO


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น