FB

fbq('track', 'ViewContent');

วันอาทิตย์ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2558

3 กระบวนการที่สำคัญสำหรับมันสำปะหลัง





ใช้ผลิตภัณฑ์ของออร์กาเนลไลฟ์ กับมันสำปะหลัง ของเขา "สุดยอด" จริงๆครับ ผมกล้ารับประกัน (มันอำเภอบ้านด่าน บุรีรัมย์ ของคุณกนกเพชร ดวงนาค ศูนย์ODSC อำเภอบ้านด่าน)
พันธุ์ก็มีส่วนครับ แต่ไม่อยากให้ไปซีเรียสจนต้องกังวลและทุ่มทุนเรื่องพันธุ์ เสมือนคนไทยก็ฉลาดและโตใหญ่ได้ถ้าดูแลดี โภชนาการดี ไม่จำเป็นต้องเป็นฝรั่งตาน้ำข้าวหรอกที่โตใหญ่ ฝรั่งแคระ ตัวเล็ก ขี้โรคก็มีเยอะครับ เราเน้นดูแลกระบวนการทำงานทางชีวเคมี(Biochemistry)ภายในต้นพืชเป็นหลักครับ รายละเอียดศึกษาได้ที่ www.organellelife.com ครับ


มี 3 กระบวนการที่สำคัญและเราเน้นมากสำหรับมันสำปะหลัง นั่นคือ (1) กระบวนการสั่งลงราก ด้วยกระบวนการ"Revitalization" (2) กระบวนการสั่งลงหัว ด้วยกระบวนการ"Tuberization" (3) กระบวนการสั่งลงแป้ง ด้วยกระบวนการ" Starch Synthesis " ทั้ง 3 กระบวนการ จะมีสารสำคัญทางชีวเคมีที่พืชสร้างขึ้นมาควบคุมตามธรรมชาติ แต่อาจไม่สมบูรณ์เราจึงสร้างสารเลียนแบบตามธรรมชาติของพืชขึ้นมาควบคุมแทน นี่คือหัวใจสำคัญในภาวะปัจจุบันที่โลกวิปริตจาก"ภาวะวิกฤติโลกร้อน"(Global Warming) ที่รุนแรงและเสียหายมากต่อสภาวะแวดล้อมทางดินฟ้าอากาศต่อพืชน่ะครับ


กระบวนการสั่งลงราก "Root Revevitalization"


 

กระบวนการสั่งลงหัว" Tuberization" เปลี่ยนรากให้เป็นหัว โดยการบังคับการเจริญเติบโตให้เปลี่ยนจากทางด้านElongation มาเป็นการเจริญทางด้านLateral เพื่อสะสมแป้งที่รากให้เป็นหัวมัน รากทุกรากต้องเป็นหัว ด้วยฮอร์โมนที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อเลียนแบบในกระบวนการชีวเคมี





กระบวนการสั่งแป้ง "Starch Synthesis"  ด้วยสารตั้งต้น(Precursor) ที่มีชื่อว่า"Malate" และ"Glutamate" เพื่อเพิ่มเปอร์เซนต์แป้งให้สูงขึ้น



กระบวนการ "สั่งลงหัว" (Tuberization) ต้องมั่นใจได้ว่า "ถึงเวลาลงหัว ก็ต้องลงหัว อย่ามัวหลงทาง" รากทุกราก ต้องเป็นหัว ให้ได้หมดสิ้น ไม่ยกเว้นแม้จะเป็น รากกิ่ง รากติ่ง รากแขนง 




ที่เห็นทั้งหัวดกและหัวใหญ่ เพราะการดูแลองค์ประกอบครบถ้วนครับกับกระบวนการทำงานของต้นมันสำปะหลังอย่างถูกต้องถูกวิธี ไม่มีสะดุด ตั้งแต่การสั่งลงราก(Root Revitalization) กระบวนการสั่งลงหัว(Tuberization) กระบวนการสั่งลงแป้ง(Starch Synthesis) ทั้งๆที่การเตรียมดินอาจจะไม่ครบถ้วน ระบบน้ำก็ไม่มีอาศัยเทวดา พันธุ์ก็ใช้พันธุ์ธรรมดาพื้นๆทั่วไป ไม่ได้ใช้พันธุ์เทวดาราคาหลักพันหลักหมื่นหรอกครับ ใช้พันธุ์ ระยอง 9 เท่านั้นเอง และมีพันธุ์อื่นปะปนบ้างเล็กน้อย



ต้นแบบนี้หัวละประมาณ 21 กิโลกรัม(มันบึงกาฬ ปลูกในแปลงยางปลูกใหม่)



ใช้แอคซอน ตัวเดียวก็จะได้ผล เรื่องสั่งลงหัว(Tuberization) เรื่องเดียวเท่านั้นแต่ได้ 100% ครับอาทิ ปลูกแล้วมีรากดีมาก รากเยอะ แต่ไม่ค่อยจะเป็นหัวทั้งหมด แต่ถ้าใช้แอคซอนสั่ง การลงหัวก็จะเต็มที่ไม่มีพลาด เพราะกระบวนการทำงานในต้นมัน มันจะถูกบังคับให้ทำหน้าที่ลงหัวเมื่อฮอร์โมนที่เป็นกรดอินทรีย์ตัวหนึ่งมันมีปริมาณมากพอที่จะทำงานตามกลไกของกระบวนการ"Tuberization" แต่แค่ใช้แอคซอนเพียงอย่างเดียวผลลัพธ์ก็เกินคาดแล้วครับเมื่อเทียบกับไม่ใช้ การันตีจากคนที่ใช้แอคซอนเพียงอย่างเดียว ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นเท่าตัวเกือบทุกราย อาทิเคยได้ไร่ละ 3 ตัน ก็จะเป็น 6-7 ตัน/ไร่ หรือใครที่เคยได้ไร่ละ 5 ตันก็จะเพิ่มเป็น 11-13 ตัน/ไร่(โดยเฉลี่ย) ที่เพิ่มมากกว่านั้นก็มีอาทิ เคยปลูก 10 ไร่ได้ 11 ตัน ทุกปี ทุกปี @ได้ไร่ละ1.1 ตัน แต่พอมาใช้"แอคซอน" กลับได้มา 50 ตัน(ไร่ละ5 ตัน)เพิ่มขึ้นมาถึง 5 เท่าตัว (เคสนี้อยู่ที่อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย) ผลลัพธ์ที่กล่าวมาทั้งหมด การเปรียบเทียบระหว่างใช้กับไม่ใช้ ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ทุกอย่างต้องเหมือนเดิมคือ การปฏิบัติแบบเดิมๆ พื้นที่เดิม พันธุ์เดิม ปุ๋ย&ยาเหมือนเดิม จะแตกต่างกันก็เพียง "ใช้ กับ ไม่ใช้" แอคซอน เท่านั้นครับ

หน้าที่ของแอคซอน "AXZON"  ทำให้พืชเปลี่ยนการเจริญเติบโตทางด้านยาว (Elongation growth) มาเป็นการเจริญเติบโตทางด้านกว้าง (Lateral growth) แทน โดย AXZON จะทำให้ระดับน้ำตาลในเซลล์สูงขึ้นทำให้เกิดการแบ่งเซลล์ในแนวรัศมีของลำต้นมากขึ้นเซลล์ขยายตัวมีขนาดใหญ่ขึ้น ทำให้มีพื้นที่พร้อมที่จะสะสมแป้งและโปรตีนมากขึ้น





กระบวนการสั่งลงราก(Root Revitalization) ก็มีความสำคัญ "รากคือหัว หัวคือราก" และต้องเป็นราก"เก็บอาหาร"(Storage Root) ไม่ใช่ราก "หาอาหาร" เพื่อรอการสั่ง "เก็บอาหาร" จนเป็นหัวมัน
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น