FB

fbq('track', 'ViewContent');

วันพฤหัสบดีที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2562

รากเน่า โคนเน่า เหี่ยวเฉา

โรครากเน่า-โคนเน่า
โรคเหี่ยวเฉา (เหี่ยวเหลือง,เหี่ยวเขียว)


▶️ ”ป้องกันไว้ก่อน พ่อสอนไว้”
▶️ “ป้องกัน” ไว้ก่อน เป็นดีที่สุด



แนวทางป้องกัน และการแก้ปัญหา

จะต้องทำทั้ง 2 ทาง ร่วมกันก็คือ
1️. ลดปริมาณเชื้อในดิน โดยการปรับสภาพดิน
หรือฆ่าเชื้อในดิน

2️. ฉีดยาฆ่าเชื้อชนิดดูดซึม เพื่อป้องกันและฆ่าเชื้อ
ที่เข้าไปภายในท่อน้ำ-ท่ออาหารของพืช


ก็เพราะเชื้อโรครากเน่า-โคนเน่า, โรคเหี่ยวเฉา
เหล่านี้อาศัยอยู่ในดิน (Soil borne)

ถ้าเราทราบมาก่อนว่าพื้นที่ของเราเคยเป็นโรครากเน่า-โคนเน่าหรือโรคเหี่ยวเฉา
เราควรจะต้องมีการทำดินให้ปลอดเชื้อมากที่สุด
โดยมีการปรับสภาพ PH ของดินให้ไม่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของเชื้อโรคที่อาศัยอยู่ในดินก่อนปลูก โดยการใช้สารปรับสภาพดินและควรมีการเติมอินทรียวัตถุ เพื่อเพิ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ให้แก่ดิน

และควรมีการใช้ยาฆ่าเชื้อแบบดูดซึม ฉีดพ่นตั้งแต่แรกปลูก เพื่อป้องกันตั้งแต่หลังปลูกเสร็จใหม่ๆ อย่างต่อเนื่องเป็นระยะๆ และที่สำคัญต้องดูแลตั้งแต่ระยะกล้าไม่ให้ติดเชื้อกับกล้าแล้วติดลงไปในไร่ปลูกด้วยจะดีที่สุด



“การป้องกัน”  ไว้ก่อน จะเป็นวิธีการที่ดีที่สุด
เพื่อที่จะลดความเสียหายให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด

โดยเฉพาะการเข้าทำลายของเชื้อโรครากเน่า-โคนเน่า หรือโรคเหี่ยวเฉา เชื้อจะเข้าทำลายที่ระบบท่อน้ำท่ออาหารของพืช ดังนั้นเมื่อท่อน้ำ-ท่ออาหาร ถูกทำลายไปแล้ว ก็ยากที่จะแก้ไขได้ เพราะถึงฆ่าเชื้อได้ท่อน้ำท่ออาหารส่วนที่ถูกทำลายไป ก็ไม่สามารถฟื้นกลับมาได้นั่นเอง จึงต้องป้องกันแต่แรกก่อนเชื้อเข้าทำลาย

http://paccapon.blogspot.com/2017/04/blog-post.html?m=0
คู่หู..หยุด (โลก) โรค



















ปรึกษาปัญหาโรคพืช
โทร. 084-8809595 , 084-3696633
Line ID : @organellelife.com (ใส่ "@" ด้วยนะครับ)


หรือกดลิงก์ด้านล่าง
เพื่อคุยและสอบถามข้อมูลทางไลน์ได้ที่
https://lin.ee/nTqrAvO  





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น