วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2561

ทุรียน การป้องกันโรค

ทุรียนราคาดี ต้องดูแลดีๆ
อย่าปล่อยให้ป่วย แล้วมาปัดเป่า
อย่าปล่อยให้วัวหาย แล้วมาล้อมคอก

โรคบางโรค อาทิ รากเน่าโคนเน่า
เราต้องป้องกัน จะดีที่สุด




• โรครากเน่าและโคนเน่า
(Root and Stem Rot)
“มหันตภัยร้าย” สำหรับทุเรียน ยางพารา ส้ม ฯลฯ

• สาเหตุเกิดจาก :

1) เชื้อรา Phytophthora palmivora (Butler)
ที่เป็นสาเหตุของโรครากเน่า โคนเน่าในทุเรียน
2) เชื้อรา Phytophthora parasitica (Dastur)
ที่เป็นสาเหตุโรครากเน่า โคนเน่าของส้ม โรค
ใบร่วงของยางพารา โรคยอดเน่าและรากเน่าของ
สับปะรด โรคเน่าดำของกล้วยไม้ โรคผลเน่าของ
มะเขือยาว โรคโคนเน่าระดับดิน ใบไหม้ และผล
เน่าของมะเขือเทศ

• ลักษณะอาการ :
ต้นที่เริ่มเป็นโรคจะพบว่าใบไม่เป็นมันสดใส ค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลืองซีดและใบร่วง เมื่อพบอาการแสดงออกที่ใบ ให้สำรวจบริเวณลำต้น กิ่งหรือราก บริเวณที่เป็นโรคจะมีสีของเปลือกเข้มคล้ายถูกน้ำเป็นวงหรือเป็นทางน้ำไหลลงด้านล่างหรือมีรอยแตกของแผล ต้นที่เป็นโรครุนแรงมากจะมีน้ำยางไหลออกมาโดยเฉพาะในช่วงเวลาเช้าที่มีอากาศชุ่มชื้น

เชื้อราไฟท๊อปธอร่า : สามารถแพร่กระจายโดยทางลม น้ำ ดิน ใบ กิ่งพันธุ์ และผล โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนที่มีลมพายุและความชื้นสูง จะเหมาะสมกับการแพร่กระจายและเข้าทำลายต้นทุเรียนได้ดี


• การป้องกันและกำจัด

1. ตรวจวิเคราะห์และปรับปรุงบำรุงดิน โดยใส่ปุ๋ยหมัก หรือสารปรับสภาพดิน เพื่อให้ดินมีสภาพเป็นดินดีทั้งทางด้านกายภาพ และทางเคมี (ดินควรมีสภาพเป็นกลาง คือ pH = 6.5)
2. จัดทำร่องระบายน้ำในบริเวณสวนที่มีพื้นที่ต่ำ เพื่อไม่ให้มีน้ำท่วมขัง ตัดแต่งกิ่งแขนงเล็กที่เป็นโรคไปเผา


3. การตัดแต่งกิ่งให้เหมาะสม จะช่วยให้บริเวณโคนต้นในสวนโปร่ง อากาศถ่ายเทสะดวก เช่น ทุเรียน ควรตัดแต่งให้กิ่งแตกแขนงสูงไม่ตํ่ากว่า 1.20 เมตร เป็นต้น การตัดแต่งกิ่งนี้สำคัญมาก จะช่วยทำให้ต้นสมบูรณ์ เกิดโรคยาก และให้ผลผลิตสูง

4. พบอาการของโรคเพียงเล็กน้อยที่ลำต้นหรือกิ่งแขนงใหญ่ ให้ขูดผิวเปลือกบริเวณที่เป็นโรคออก แล้วนำไปเผาทำลาย ส่วนบริเวณที่แผล ให้ฉีดพ่นด้วย ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส”

5. พบอาการของโรครุนแรงที่ราก, ลำต้น หรือกิ่งแขนงใหญ่ ให้ใช้ ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส” ใส่กระบอกฉีด อัตรา 5-10 ซีซี/ น้ำ 2 ลิตรฉีดที่บริเวณแผลที่มีการถากส่วนที่เน่าออกไปแล้ว

- โรคโคนเน่า : ขูดเปลือกลำต้นหรือกิ่งแขนงใหญ่บริเวณที่เป็นโรคออกและเผาทำลาย แล้วฉีดพ่นไปที่แผลด้วย ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส”
ใส่กระบอกฉีด อัตรา 5-10 ซีซี/ น้ำ 2 ลิตร

- โรครากเน่า : พบอาการของโรคที่บริเวณรากฝอยซึ่งจะเป็นสีน้ำตาลดำและใบสีเหลือง ให้ใช้ ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส” อัตรา 20 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นที่ใบให้ทั่วทั้งต้น และใช้ ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส” ใส่ถังน้ำ
อัตรา 20-40 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ราดลงไปที่ดินบริเวณรอบโคนต้นหรือบริเวณใต้ต้น ต้นละ 10-20 ลิตร (0.5-1 ปี๊บ)

• สำหรับยางพารา : ผสมน้ำฉีดพ่น เพื่อป้องกันอาการหน้ายางตาย ใบร่วง เส้นดำ ทำให้หน้ายางนิ่ม กรีดง่าย อัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 2 ลิตร (ทุก 10-15 วัน) หรือรักษายางหน้าตาย ให้ใช้อัตรา 10 ซีซี.ต่อน้ำ 2 ลิตร (ทุก 3-7 วัน ประมาณ 1 เดือน)




คู่หู..คู่นี้
เป็น..คู่หู “หยุด (โลก) โรค” จริงๆ
ไม่ว่าจะหยุดโรครากเน่า โรคโคนเน่า โรคเหี่ยว
โรคหวาดเสียวต่างๆ ทั้งโรคราน้ำค้าง ราแป้ง ราสีชมพู ราสีน้ำเงิน โรคใบไหม้ ไฟลามทุ่ง ใบจุดเหลี่ยม ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดตากบ ใบจุดลาย ใบจุดสีม่วง โรคใบติด ไวรัสใบหด ใบหงิก ใบด่าง ฯลฯ
โรคหยุด หยุดโรคได้
ถ้าใช้อย่างถูกวิธี และมีการป้องกันอย่างถูกต้อง
และถ้าเคยใช้ยาเคมีต่างๆ แล้วเอาไม่อยู่
มาลองดูคู่นี้ ที่เป็น “ทางเลือกใหม่” ดีไหม?
เพราะปลอดภัย และไม่ดื้อยา อีกทั้งยังไม่มีสารพิษตกค้าง ที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค

#คาร์บอกซิลพลัส + #อีเรเซอร์วัน

http://paccapon.blogspot.com/2017/04/blog-post.html?m=0
คู่หู..หยุดโรค







📝inbox สอบถามปรึกษาก่อนได้นะครับ
☎️:084 - 8809595 , 084-3696633
📲Line id :@organellelife.com (พิมพ์ @ด้วยนะครับ)
หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อน
เพื่อสอบถามข้อมูลได้ครับ

https://lin.ee/nTqrAvO
.
**รับตัวแทนจำหน่าย VIP ทั่วประเทศ



.



พืชอ่อนแอ การเจริญเติบโตหยุดชะงัก ผลผลิตสะดุด ต้องมีตัวช่วย

เพราะเหตุใด?

ผู้ที่ใช้ “ORG-1 และ ORG-2”
จึงพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า


เมื่อใช้สินค้าคู่นี้แล้ว
ทำไม? มันต่างจากสินค้าตัวอื่นมาก
เลยอยากบอกแบบ “ลึกสุดใจ” ว่า
มันสุดยอดมากเลย





ORG-1 : คืออะไร
ทำไม? ถึงได้ถูกใจพืช
ก็..ORG-1
มีในสิ่งที่สินค้าอื่น อาจจะมี
แต่..มีไม่เหมือน
นั่นคือ...

• มีสารตั้งต้น (Precursor) ในการสังเคราะห์สาร
สะสมต่างๆ อาทิ น้ำมัน น้ำยาง น้ำตาล แป้ง ฯลฯ
- สารมาเลท (Malate Compound)

• มีสารตั้งต้น (Precursor) การสร้างโปรตีนและ
สร้างสารตั้งต้นมาเลท (Malate)
- กรดกลูตามิค แอซิด (Glutamic acid)

• มีโปรตีนทางด่วน (ตัวเดียวกับที่พืชสร้างขึ้นเอง)
ใช้เป็นอาหารสะสมหรือแหล่งพลังงานของพืช
- อะมิโน แอซิด (Amino acid)

• มีธาตุอาหารที่ช่วยสังเคราะห์แป้งและน้ำตาลในพืช
และช่วยขนย้ายแป้งและน้ำตาลไปสะสมในแหล่ง
ที่ผลและพืชหัว ทำให้พืชคุณภาพดี
- โปแตสเซียม (K)

• มีธาตุอาหารที่ช่วยเสริมสร้างคลอโรฟิลด์ ทำให้
การสังเคราะห์แสงได้ดีและเป็นโคแฟคเตอร์ของ
เอ็นไซม์ต่างๆ ทำให้การเจริญเติบโตของพืชดีขึ้น
- แมกนีเซียม อะมิโน แอซิด คลีเลท
(Mg Amino acid Chelate)

• มีธาตุอาหารเสริมความแข็งแรงของผนังเซลล์พืช
และช่วยการแบ่งเซลล์พืช ตลอดจนช่วยขบวนการ
สังเคราะห์โปรตีน
- แคลเซียม อะมิโน แอซิด คลีเลท
(Ca Amino acid Chelate)

• มีธาตุอาหารที่ช่วยเร่งการสะสมอาหาร (แป้ง
น้ำตาล และควบคุมขบวนการเคลื่อนย้าย
คาร์โบไฮเดรตและโปรตีนในพืชไปสะสมใน
แหล่งที่ต้องการ ส่งเสริมการสร้างตาดอกและ
การออกดอก (ทำให้เกสรตัวผู้แข็งแรง ผสม
เกสรดีขึ้น ติดผลดีขึ้น)
- โบรอน (B as Boric acid)



ORG-2 : คืออะไร
ทำไม? ถึงได้ถูกใจพืช
ก็..ORG-2
มีในสิ่งที่สินค้าอื่น อาจจะมี
แต่..มีไม่เหมือน
นั่นคือ...

• มีคาร์โบไฮเดรต พลังงานสูง ให้พลังงานได้ทันที
พืชได้รับพลังงานและอาหารสะสมสำเร็จรูป
อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องพึ่งการสังเคราะห์แสง
ตามธรรมชาติ
- น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว (จากผลไม้ธรรมชาติ)
(Monosaccharides)

• มีโปรตีนทางด่วน (ตัวเดียวกับที่พืชสร้างขึ้นเอง)
ใช้เป็นอาหารสะสมหรือแหล่งพลังงานของพืช ซึ่ง
ให้พลังงานแก่พืชทันที
- อะมิโน แอซิด (Amino acid)

• มีสารรักษาสมดุลแร่ธาตุสารอาหารต่างๆในพืช
ช่วยปรับสมดุลย์ของสารอาหารและปฏิกิริยาเคมี
ต่างๆในพืชได้เป็นอย่างดี และช่วยกระตุ้นการ
เจริญเติบโต เพิ่มขบวนการสังเคราะห์โปรตีน

• มีธาตุอาหารที่ช่วยสังเคราะห์แป้งและน้ำตาลในพืช
และช่วยขนย้ายแป้งและน้ำตาลไปสะสมในแหล่ง
ที่ผลและพืชหัว ทำให้พืชคุณภาพดี
- โปแตสเซียม (K)

• มีธาตุอาหารที่ช่วยเสริมสร้างคลอโรฟิลด์ ทำให้
การสังเคราะห์แสงได้ดีและเป็นโคแฟคเตอร์ของ
เอ็นไซม์ต่างๆ ทำให้การเจริญเติบโตของพืชดีขึ้น
- แมกนีเซียม อะมิโน แอซิด คลีเลท
(Mg Amino acid Chelate)





ORG-1 & ORG-2 Cocktail
• ORG-1

• Malate Compound
• Protein (as Amino acid)
• Glutamic acid
• Potassium (K)
• Nitrogen as N-NO3 form
• Magnesium (Mg as Amino acid Chelate)
• Calcium (Ca as Amino acid Chelate)
• Boron (B as Boric acid)

• ORG-1

• Carbohydrate (as Monosaccharides)
• Protein (as Amino acid)
• Fulvic acid
• Potassium (K)
• Magnesium (Mg as Amino acid Chelate)

ORG-1 : ใช้ได้ดีกับทุกช่วงการเจริญเติบโตของพืช เหมาะสำหรับช่วงสะสมอาหาร เร่งใบแก่ เพิ่มคาร์โบไฮเดรต (แป้งและน้ำตาล) ให้พร้อมเต็มที่
เพื่อการออกออก ช่วยเพิ่มอาหารยามพืชอ่อนแอ
หรือพืชสังเคราะห์แสงเพื่อสร้างอาหารเองได้ไม่เต็มที่ในช่วงแล้งจัด หนาวจัด หรือช่วงอากาศแปรปรวน ฟ้าปิด แสงแดดน้อย ที่สำคัญช่วยเพิ่มอาหารยามที่พืชต้องการในระยะแทงช่อดอก ให้ช่อดอกแข็งแรง แทงช่อดอกออกมาได้ดี ช่อใหญ่สมบูรณ์ เพิ่มแป้ง & น้ำตาลเมื่อพืชต้องการขยายขนาดผล เพิ่มน้ำหนัก ช่วยเร่งความหวาน เพิ่มขนาด และสีผลเข้มสวย ทำให้ผลผลิตสูง คุณภาพดี สร้างภูมิต้านทาน
ต่อโรคและแมลง

• ORG-2
4 ช่วงที่สำคัญ สำหรับพืช
ที่ต้องการใช้พลังงานเป็นจำนวนมาก

1. ช่วงแตกใบอ่อน
2. ช่วงการออกดอก
3. ช่วงการติดผล
4. ช่วงการเร่งคุณภาพ อาทิ เร่งหวาน เร่งสี

ORG-2 : ช่วยเพิ่มพลังงานให้พืชทันทีโดยไม่ต้องผ่านขบวนการสังเคราะห์แสง (Photosynthesis) ก่อนพืชออกดอกต้องการใช้พลังงานมากกว่าปรกติ เพราะต้องมีการสะสมอาหารเพื่อการออกดอก พืชเองจึงจำเป็นต้องได้รับพลังงานทางด่วน มี
"อะมิโน แอซิค" ในรูปที่พืชสังเคราะห์ได้เองตามธรรมชาติ จึงใช้เป็นอาหารสะสมให้พืชทันที ช่วยเพิ่มการติดผล ช่วยทำให้พืชที่มีผล และผลไม้มีรสชาติดี เร่งหวาน เร่งสี



http://paccapon.blogspot.com/2017/05/blog-post_18.html?m=0
การผลิตลำไย ระบบ ORG

http://paccapon.blogspot.com/2017/07/blog-post.html?m=0
แนวทางการสร้างผลผลิตพืช
โดย ORG-1, ORG-2

http://paccapon.blogspot.com/2016/08/c6h12o6.html
การสังเคราะห์กลูโคส (C6H12O6)

http://www.paccapon.blogspot.com/2015/…/1-org-1-2-org-2.html ORG-1+ORG-2

http://paccapon.blogspot.com/2015/08/blog-post_3.html
อะมิโน แอซิด




ฟ้าปิด ครึ้มฟ้าครึ้มฝน
หรือฝนตกเกือบทั้งวัน
แสงแดดไม่มี
พืชสังเคราะห์แสงไม่ได้

ทำให้พืชขาดอาหาร และขาดพลังงาน
ที่จะนำไปเลี้ยงส่วนต่างๆของต้นและใบ
พืชจึงอ่อนแอ เกิดอาการทรุดโทรม
การเจริญเติบโตก็เกิดการหยุดชะงัก
และการสร้างผลผลิตของพืชก็สะดุดลง
พืชจึงต้องการ “ตัวช่วย” ที่ถูกต้องและใช่
เพื่อให้กลไกในกระบวนการชีวเคมีของพืช
ได้ดำเนินการไปอย่างเป็นปกติมากที่สุด


https://paccapon.blogspot.com/2018/01/photosynthesis.html
การสังเคราะห์แสง (Photosynthesis)

http://paccapon.blogspot.com/2017/07/blog-post.html?m=0
แนวทางสร้างผลผลิตพืช ORG-1, ORG-2

http://paccapon.blogspot.com/2016/08/c6h12o6.html
การสังเคราะห์กลูโคส (C6H12O6)





======
📝inbox สอบถามปรึกษาก่อนได้นะคะ
☎️:084 - 8809595 , 084-3696633
📲Line id :@organellelife.com (พิมพ์ @ด้วยนะคะ)
หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อน เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ค่ะ
.
https://lin.ee/nTqrAvO


วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2561

ทุเรียน

กระแสทุเรียนมาแรง

โค่นยางพารา แห่ปลูกทุเรียนกัน
สำเร็จ หรือล้มเหลว อยู่ที่การดูแล
อย่ามองข้าม ความปลอดภัยจากโรคร้าย

การ “ติดกระดุมเม็ดแรกถูก ถูกทั้งตัว” จะดีที่สุด
“เสริมสร้าง” ความแข็งแรง และ
“ป้องกัน” โรคร้ายให้ทุเรียนถือว่าสำคัญ
• โรครากเน่าและโคนเน่า (Root and Stem Rot)
“มหันตภัยร้าย” สำหรับทุเรียน ยางพารา ส้ม ฯลฯ

• สาเหตุเกิดจาก :
1) เชื้อรา Phytophthora palmivora (Butler)
ที่เป็นสาเหตุของโรครากเน่า โคนเน่าในทุเรียน
2) เชื้อรา Phytophthora parasitica (Dastur)
ที่เป็นสาเหตุโรครากเน่า โคนเน่าของส้ม โรค
ใบร่วงของยางพารา โรคยอดเน่าและรากเน่าของ
สับปะรด โรคเน่าดำของกล้วยไม้ โรคผลเน่าของ
มะเขือยาว โรคโคนเน่าระดับดิน ใบไหม้ และผล
เน่าของมะเขือเทศ



• ลักษณะอาการ :
ต้นที่เริ่มเป็นโรคจะพบว่าใบไม่เป็นมันสดใส ค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลืองซีดและใบร่วง เมื่อพบอาการแสดงออกที่ใบ ให้สำรวจบริเวณลำต้น กิ่งหรือราก บริเวณที่เป็นโรคจะมีสีของเปลือกเข้มคล้ายถูกน้ำเป็นวงหรือเป็นทางน้ำไหลลงด้านล่างหรือมีรอยแตกของแผล ต้นที่เป็นโรครุนแรงมากจะมีน้ำยางไหลออกมาโดยเฉพาะในช่วงเวลาเช้าที่มีอากาศชุ่มชื้น

เชื้อราไฟท๊อปธอร่า : สามารถแพร่กระจายโดยทางลม น้ำ ดิน ใบ กิ่งพันธุ์ และผล โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนที่มีลมพายุและความชื้นสูง จะเหมาะสมกับการแพร่กระจายและเข้าทำลายต้นทุเรียนได้ดี


• การป้องกันและกำจัด

1. ตรวจวิเคราะห์และปรับปรุงบำรุงดิน โดยใส่ปุ๋ยหมัก หรือสารปรับสภาพดิน เพื่อให้ดินมีสภาพเป็นดินดีทั้งทางด้านกายภาพ และทางเคมี (ดินควรมีสภาพเป็นกลาง คือ pH = 6.5)
2. จัดทำร่องระบายน้ำในบริเวณสวนที่มีพื้นที่ต่ำ เพื่อไม่ให้มีน้ำท่วมขัง ตัดแต่งกิ่งแขนงเล็กที่เป็นโรคไปเผา

3. การตัดแต่งกิ่งให้เหมาะสม จะช่วยให้บริเวณโคนต้นในสวนโปร่ง อากาศถ่ายเทสะดวก เช่น ทุเรียน ควรตัดแต่งให้กิ่งแตกแขนงสูงไม่ตํ่ากว่า 1.20 เมตร เป็นต้น การตัดแต่งกิ่งนี้สำคัญมาก จะช่วยทำให้ต้นสมบูรณ์ เกิดโรคยาก และให้ผลผลิตสูง

4. พบอาการของโรคเพียงเล็กน้อยที่ลำต้นหรือกิ่งแขนงใหญ่ ให้ขูดผิวเปลือกบริเวณที่เป็นโรคออก แล้วนำไปเผาทำลาย ส่วนบริเวณที่แผล ให้ฉีดพ่นด้วย ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส”

5. พบอาการของโรครุนแรงที่ราก, ลำต้น หรือกิ่งแขนงใหญ่ ให้ใช้ ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส” ใส่กระบอกฉีด อัตรา 5-10 ซีซี/ น้ำ 2 ลิตรฉีดที่บริเวณแผลที่มีการถากส่วนที่เน่าออกไปแล้ว


- โรคโคนเน่า : ขูดเปลือกลำต้นหรือกิ่งแขนงใหญ่บริเวณที่เป็นโรคออกและเผาทำลาย แล้วฉีดพ่นไปที่แผลด้วย ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส”
ใส่กระบอกฉีด อัตรา 5-10 ซีซี/ น้ำ 2 ลิตร

- โรครากเน่า : พบอาการของโรคที่บริเวณรากฝอยซึ่งจะเป็นสีน้ำตาลดำและใบสีเหลือง ให้ใช้ ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส” อัตรา 20 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นที่ใบให้ทั่วทั้งต้น และใช้ ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส” ใส่ถังน้ำ
อัตรา 20-40 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ราดลงไปที่ดินบริเวณรอบโคนต้นหรือบริเวณใต้ต้น ต้นละ 10-20 ลิตร (0.5-1 ปี๊บ)

• สำหรับยางพารา : ผสมน้ำฉีดพ่น เพื่อป้องกันอาการหน้ายางตาย ใบร่วง เส้นดำ ทำให้หน้ายางนิ่ม กรีดง่าย อัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 2 ลิตร (ทุก 10-15 วัน) หรือรักษายางหน้าตาย ให้ใช้อัตรา 10 ซีซี.ต่อน้ำ 2 ลิตร (ทุก 3-7 วัน ประมาณ 1 เดือน)







http://paccapon.blogspot.com/2017/04/blog-post.html?m=0
คู่หู..สยบโรค
........................................................................

☎️:084 - 8809595 , 084-3696633
📲Line id :@organellelife.com (พิมพ์ @ด้วยนะคะ)
หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อน
เพื่อสอบถามข้อมูลได้ค่ะ
.
https://lin.ee/nTqrAvO 







วัคซีนพืช 4 สหาย
วัคซีนพืช..ยุคใหม่
“ดูแล..สุขภาพพืช”

เกษตรกร ยุคใหม่
อบอุ่นใจ ปลูกพืชคราใด
ไร้กังวล และสบายใจ

เพราะ..เลือกใช้ชุด..  “วัคซีนพืช 4 สหาย”
ดูแล..สุขภาพพืช” ของ ออร์กาเนลไลฟ์
ใช้เป็นยาสามัญประจำพืช กันไปแล้ว
ชุด..”วัคซีน 4 สหาย”..ดูแลสุขภาพพืช

นอกจากพืชจะได้รับ..”วัคซีน” เพื่อป้องกันแบคทีเรีย เชื้อรา และไวรัส
ยังได้รับโบนัสพิเศษจากคุณสมบัติอื่นๆ ของ “วัคซีน 4 สหาย”
ในการที่มันทำหน้าที่ต่างๆ ได้อีกหลายอย่าง
อาทิ..เช่น

- กระตุ้นการสร้าง Phenolics, Phytoalexin, PR-
Proteins เพื่อช่วยป้องกันเชื้อโรคแทรกซ้อน
จากแผลต่างๆ เสมือนการสร้างภูมิต้านทานโรค
(วัคซีนพืช) ด้วยกระบวนการ Systemic Acquired Resistance : SAR

- กระตุ้นการสมานแผล ในกรณีจากเนื้อเยื่อพืชที่
ถูกทำลายด้วยโรคหรือแมลง โดยการกระตุ้น
การสร้างและสะสม Lignin เพื่อเสริมความแข็ง
แรงที่ผนังเซลล์ (Cell Wall)

- กระตุ้นให้เกิดการหมุนเวียนของน้ำและสาร
อาหาร (Water Circulation ) ในระบบท่อ
ลำเลียง (Xylem-Phloem) ได้ดีขึ้นและมากขึ้น
ทำให้พืชลำเลียงน้ำและอาหารไปสร้างการเจริญ
เติบโตและสร้างผลผลิตได้ดีและมีประสิทธิภาพ
มากขึ้น โดยไม่เกิดการสะดุด การเจริญเติบโต
ของพืชแต่ละช่วง (Stage) จึงปกติดี การสร้าง
ผลผลิตจึงสมบูรณ์และสูงขึ้น

- เพิ่มการแบ่งเซลล์ (Cell Division) ของเยื่อเจริญ
เพื่อสร้างเป็นเนื้อเยื่อใหม่ได้เร็วขึ้น และรักษา
สมดุลของเซลล์ ทำให้การแบ่งเซลล์สมบูรณ์ ไม่
ผิดรูปผิดร่าง รูปทรงสมบูรณ์สมส่วน สวยงาม

- ฟื้นฟูสภาพและการทำหน้าที่ต่างๆ ของเซลล์ให้
กลับมาเป็นปกติเหมือนเซลล์ใหม่ (revitalize)
ทำให้พืชเสมือนเป็นหนุ่มสาวอยู่ตลอดเวลา

- ช่วยส่งเสริมให้กระบวนการสังเคราะห์แสง
(Photosynthesis) ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

- ช่วยกระตุ้นพืชให้เกิดความทนทานต่อสภาพ
แวดล้อมที่ไม่เหมาะสม (Abiotic Tolerance)
อาทิ Drought Tolerance, Water Tolerance,
Salinity Tolerance, Chilly Tolerance เป็นต้น

- ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช
(Stimulating Growth) เสมือนพืชได้รับ
Phytohormone ที่พืชสร้างขึ้นด้วยตัวเอง จึง
ทำให้การเจริญเติบโต (Growth Stages) ของ
พืชดำเนินไปได้อย่างสมบูรณ์ตามระยะและ
ช่วงวัยของเขา เนื่องจากได้รับฮอร์โมนที่
เหมาะสมในทุกระยะของการเจริญเติบโตและ
สร้างคุณภาพ โดยไม่มีอาการสะดุด พืชจึง..
“สมบูรณ์จากภายใน สู่..ภายนอก”
(ขอบคุณภาพจาก : คุณสุเมธี นพสมบูรณ์)

- อื่นๆ อีกหลากหลายในต่างพืช

https://paccapon.blogspot.com/2018/03/4.html?m=0
กุญแจทอง 4 ดอก

Salicylic acid beyond defence: its role in plant growth and development
https://academic.oup.com/jxb/article/62/10/3321/479369

https://www.sciencedirect.com/to…/neuroscience/jasmonic-acid

https://en.m.wikipedia.org/wiki/Jasmonic_acid