วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2561

ทุเรียน

กระแสทุเรียนมาแรง

โค่นยางพารา แห่ปลูกทุเรียนกัน
สำเร็จ หรือล้มเหลว อยู่ที่การดูแล
อย่ามองข้าม ความปลอดภัยจากโรคร้าย

การ “ติดกระดุมเม็ดแรกถูก ถูกทั้งตัว” จะดีที่สุด
“เสริมสร้าง” ความแข็งแรง และ
“ป้องกัน” โรคร้ายให้ทุเรียนถือว่าสำคัญ
• โรครากเน่าและโคนเน่า (Root and Stem Rot)
“มหันตภัยร้าย” สำหรับทุเรียน ยางพารา ส้ม ฯลฯ

• สาเหตุเกิดจาก :
1) เชื้อรา Phytophthora palmivora (Butler)
ที่เป็นสาเหตุของโรครากเน่า โคนเน่าในทุเรียน
2) เชื้อรา Phytophthora parasitica (Dastur)
ที่เป็นสาเหตุโรครากเน่า โคนเน่าของส้ม โรค
ใบร่วงของยางพารา โรคยอดเน่าและรากเน่าของ
สับปะรด โรคเน่าดำของกล้วยไม้ โรคผลเน่าของ
มะเขือยาว โรคโคนเน่าระดับดิน ใบไหม้ และผล
เน่าของมะเขือเทศ



• ลักษณะอาการ :
ต้นที่เริ่มเป็นโรคจะพบว่าใบไม่เป็นมันสดใส ค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลืองซีดและใบร่วง เมื่อพบอาการแสดงออกที่ใบ ให้สำรวจบริเวณลำต้น กิ่งหรือราก บริเวณที่เป็นโรคจะมีสีของเปลือกเข้มคล้ายถูกน้ำเป็นวงหรือเป็นทางน้ำไหลลงด้านล่างหรือมีรอยแตกของแผล ต้นที่เป็นโรครุนแรงมากจะมีน้ำยางไหลออกมาโดยเฉพาะในช่วงเวลาเช้าที่มีอากาศชุ่มชื้น

เชื้อราไฟท๊อปธอร่า : สามารถแพร่กระจายโดยทางลม น้ำ ดิน ใบ กิ่งพันธุ์ และผล โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนที่มีลมพายุและความชื้นสูง จะเหมาะสมกับการแพร่กระจายและเข้าทำลายต้นทุเรียนได้ดี


• การป้องกันและกำจัด

1. ตรวจวิเคราะห์และปรับปรุงบำรุงดิน โดยใส่ปุ๋ยหมัก หรือสารปรับสภาพดิน เพื่อให้ดินมีสภาพเป็นดินดีทั้งทางด้านกายภาพ และทางเคมี (ดินควรมีสภาพเป็นกลาง คือ pH = 6.5)
2. จัดทำร่องระบายน้ำในบริเวณสวนที่มีพื้นที่ต่ำ เพื่อไม่ให้มีน้ำท่วมขัง ตัดแต่งกิ่งแขนงเล็กที่เป็นโรคไปเผา

3. การตัดแต่งกิ่งให้เหมาะสม จะช่วยให้บริเวณโคนต้นในสวนโปร่ง อากาศถ่ายเทสะดวก เช่น ทุเรียน ควรตัดแต่งให้กิ่งแตกแขนงสูงไม่ตํ่ากว่า 1.20 เมตร เป็นต้น การตัดแต่งกิ่งนี้สำคัญมาก จะช่วยทำให้ต้นสมบูรณ์ เกิดโรคยาก และให้ผลผลิตสูง

4. พบอาการของโรคเพียงเล็กน้อยที่ลำต้นหรือกิ่งแขนงใหญ่ ให้ขูดผิวเปลือกบริเวณที่เป็นโรคออก แล้วนำไปเผาทำลาย ส่วนบริเวณที่แผล ให้ฉีดพ่นด้วย ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส”

5. พบอาการของโรครุนแรงที่ราก, ลำต้น หรือกิ่งแขนงใหญ่ ให้ใช้ ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส” ใส่กระบอกฉีด อัตรา 5-10 ซีซี/ น้ำ 2 ลิตรฉีดที่บริเวณแผลที่มีการถากส่วนที่เน่าออกไปแล้ว


- โรคโคนเน่า : ขูดเปลือกลำต้นหรือกิ่งแขนงใหญ่บริเวณที่เป็นโรคออกและเผาทำลาย แล้วฉีดพ่นไปที่แผลด้วย ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส”
ใส่กระบอกฉีด อัตรา 5-10 ซีซี/ น้ำ 2 ลิตร

- โรครากเน่า : พบอาการของโรคที่บริเวณรากฝอยซึ่งจะเป็นสีน้ำตาลดำและใบสีเหลือง ให้ใช้ ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส” อัตรา 20 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นที่ใบให้ทั่วทั้งต้น และใช้ ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส” ใส่ถังน้ำ
อัตรา 20-40 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ราดลงไปที่ดินบริเวณรอบโคนต้นหรือบริเวณใต้ต้น ต้นละ 10-20 ลิตร (0.5-1 ปี๊บ)

• สำหรับยางพารา : ผสมน้ำฉีดพ่น เพื่อป้องกันอาการหน้ายางตาย ใบร่วง เส้นดำ ทำให้หน้ายางนิ่ม กรีดง่าย อัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 2 ลิตร (ทุก 10-15 วัน) หรือรักษายางหน้าตาย ให้ใช้อัตรา 10 ซีซี.ต่อน้ำ 2 ลิตร (ทุก 3-7 วัน ประมาณ 1 เดือน)







http://paccapon.blogspot.com/2017/04/blog-post.html?m=0
คู่หู..สยบโรค
........................................................................

☎️:084 - 8809595 , 084-3696633
📲Line id :@organellelife.com (พิมพ์ @ด้วยนะคะ)
หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อน
เพื่อสอบถามข้อมูลได้ค่ะ
.
https://lin.ee/nTqrAvO 







วัคซีนพืช 4 สหาย
วัคซีนพืช..ยุคใหม่
“ดูแล..สุขภาพพืช”

เกษตรกร ยุคใหม่
อบอุ่นใจ ปลูกพืชคราใด
ไร้กังวล และสบายใจ

เพราะ..เลือกใช้ชุด..  “วัคซีนพืช 4 สหาย”
ดูแล..สุขภาพพืช” ของ ออร์กาเนลไลฟ์
ใช้เป็นยาสามัญประจำพืช กันไปแล้ว
ชุด..”วัคซีน 4 สหาย”..ดูแลสุขภาพพืช

นอกจากพืชจะได้รับ..”วัคซีน” เพื่อป้องกันแบคทีเรีย เชื้อรา และไวรัส
ยังได้รับโบนัสพิเศษจากคุณสมบัติอื่นๆ ของ “วัคซีน 4 สหาย”
ในการที่มันทำหน้าที่ต่างๆ ได้อีกหลายอย่าง
อาทิ..เช่น

- กระตุ้นการสร้าง Phenolics, Phytoalexin, PR-
Proteins เพื่อช่วยป้องกันเชื้อโรคแทรกซ้อน
จากแผลต่างๆ เสมือนการสร้างภูมิต้านทานโรค
(วัคซีนพืช) ด้วยกระบวนการ Systemic Acquired Resistance : SAR

- กระตุ้นการสมานแผล ในกรณีจากเนื้อเยื่อพืชที่
ถูกทำลายด้วยโรคหรือแมลง โดยการกระตุ้น
การสร้างและสะสม Lignin เพื่อเสริมความแข็ง
แรงที่ผนังเซลล์ (Cell Wall)

- กระตุ้นให้เกิดการหมุนเวียนของน้ำและสาร
อาหาร (Water Circulation ) ในระบบท่อ
ลำเลียง (Xylem-Phloem) ได้ดีขึ้นและมากขึ้น
ทำให้พืชลำเลียงน้ำและอาหารไปสร้างการเจริญ
เติบโตและสร้างผลผลิตได้ดีและมีประสิทธิภาพ
มากขึ้น โดยไม่เกิดการสะดุด การเจริญเติบโต
ของพืชแต่ละช่วง (Stage) จึงปกติดี การสร้าง
ผลผลิตจึงสมบูรณ์และสูงขึ้น

- เพิ่มการแบ่งเซลล์ (Cell Division) ของเยื่อเจริญ
เพื่อสร้างเป็นเนื้อเยื่อใหม่ได้เร็วขึ้น และรักษา
สมดุลของเซลล์ ทำให้การแบ่งเซลล์สมบูรณ์ ไม่
ผิดรูปผิดร่าง รูปทรงสมบูรณ์สมส่วน สวยงาม

- ฟื้นฟูสภาพและการทำหน้าที่ต่างๆ ของเซลล์ให้
กลับมาเป็นปกติเหมือนเซลล์ใหม่ (revitalize)
ทำให้พืชเสมือนเป็นหนุ่มสาวอยู่ตลอดเวลา

- ช่วยส่งเสริมให้กระบวนการสังเคราะห์แสง
(Photosynthesis) ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

- ช่วยกระตุ้นพืชให้เกิดความทนทานต่อสภาพ
แวดล้อมที่ไม่เหมาะสม (Abiotic Tolerance)
อาทิ Drought Tolerance, Water Tolerance,
Salinity Tolerance, Chilly Tolerance เป็นต้น

- ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช
(Stimulating Growth) เสมือนพืชได้รับ
Phytohormone ที่พืชสร้างขึ้นด้วยตัวเอง จึง
ทำให้การเจริญเติบโต (Growth Stages) ของ
พืชดำเนินไปได้อย่างสมบูรณ์ตามระยะและ
ช่วงวัยของเขา เนื่องจากได้รับฮอร์โมนที่
เหมาะสมในทุกระยะของการเจริญเติบโตและ
สร้างคุณภาพ โดยไม่มีอาการสะดุด พืชจึง..
“สมบูรณ์จากภายใน สู่..ภายนอก”
(ขอบคุณภาพจาก : คุณสุเมธี นพสมบูรณ์)

- อื่นๆ อีกหลากหลายในต่างพืช

https://paccapon.blogspot.com/2018/03/4.html?m=0
กุญแจทอง 4 ดอก

Salicylic acid beyond defence: its role in plant growth and development
https://academic.oup.com/jxb/article/62/10/3321/479369

https://www.sciencedirect.com/to…/neuroscience/jasmonic-acid

https://en.m.wikipedia.org/wiki/Jasmonic_acid


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น