วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2561

ทุรียน การป้องกันโรค

ทุรียนราคาดี ต้องดูแลดีๆ
อย่าปล่อยให้ป่วย แล้วมาปัดเป่า
อย่าปล่อยให้วัวหาย แล้วมาล้อมคอก

โรคบางโรค อาทิ รากเน่าโคนเน่า
เราต้องป้องกัน จะดีที่สุด




• โรครากเน่าและโคนเน่า
(Root and Stem Rot)
“มหันตภัยร้าย” สำหรับทุเรียน ยางพารา ส้ม ฯลฯ

• สาเหตุเกิดจาก :

1) เชื้อรา Phytophthora palmivora (Butler)
ที่เป็นสาเหตุของโรครากเน่า โคนเน่าในทุเรียน
2) เชื้อรา Phytophthora parasitica (Dastur)
ที่เป็นสาเหตุโรครากเน่า โคนเน่าของส้ม โรค
ใบร่วงของยางพารา โรคยอดเน่าและรากเน่าของ
สับปะรด โรคเน่าดำของกล้วยไม้ โรคผลเน่าของ
มะเขือยาว โรคโคนเน่าระดับดิน ใบไหม้ และผล
เน่าของมะเขือเทศ

• ลักษณะอาการ :
ต้นที่เริ่มเป็นโรคจะพบว่าใบไม่เป็นมันสดใส ค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลืองซีดและใบร่วง เมื่อพบอาการแสดงออกที่ใบ ให้สำรวจบริเวณลำต้น กิ่งหรือราก บริเวณที่เป็นโรคจะมีสีของเปลือกเข้มคล้ายถูกน้ำเป็นวงหรือเป็นทางน้ำไหลลงด้านล่างหรือมีรอยแตกของแผล ต้นที่เป็นโรครุนแรงมากจะมีน้ำยางไหลออกมาโดยเฉพาะในช่วงเวลาเช้าที่มีอากาศชุ่มชื้น

เชื้อราไฟท๊อปธอร่า : สามารถแพร่กระจายโดยทางลม น้ำ ดิน ใบ กิ่งพันธุ์ และผล โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนที่มีลมพายุและความชื้นสูง จะเหมาะสมกับการแพร่กระจายและเข้าทำลายต้นทุเรียนได้ดี


• การป้องกันและกำจัด

1. ตรวจวิเคราะห์และปรับปรุงบำรุงดิน โดยใส่ปุ๋ยหมัก หรือสารปรับสภาพดิน เพื่อให้ดินมีสภาพเป็นดินดีทั้งทางด้านกายภาพ และทางเคมี (ดินควรมีสภาพเป็นกลาง คือ pH = 6.5)
2. จัดทำร่องระบายน้ำในบริเวณสวนที่มีพื้นที่ต่ำ เพื่อไม่ให้มีน้ำท่วมขัง ตัดแต่งกิ่งแขนงเล็กที่เป็นโรคไปเผา


3. การตัดแต่งกิ่งให้เหมาะสม จะช่วยให้บริเวณโคนต้นในสวนโปร่ง อากาศถ่ายเทสะดวก เช่น ทุเรียน ควรตัดแต่งให้กิ่งแตกแขนงสูงไม่ตํ่ากว่า 1.20 เมตร เป็นต้น การตัดแต่งกิ่งนี้สำคัญมาก จะช่วยทำให้ต้นสมบูรณ์ เกิดโรคยาก และให้ผลผลิตสูง

4. พบอาการของโรคเพียงเล็กน้อยที่ลำต้นหรือกิ่งแขนงใหญ่ ให้ขูดผิวเปลือกบริเวณที่เป็นโรคออก แล้วนำไปเผาทำลาย ส่วนบริเวณที่แผล ให้ฉีดพ่นด้วย ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส”

5. พบอาการของโรครุนแรงที่ราก, ลำต้น หรือกิ่งแขนงใหญ่ ให้ใช้ ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส” ใส่กระบอกฉีด อัตรา 5-10 ซีซี/ น้ำ 2 ลิตรฉีดที่บริเวณแผลที่มีการถากส่วนที่เน่าออกไปแล้ว

- โรคโคนเน่า : ขูดเปลือกลำต้นหรือกิ่งแขนงใหญ่บริเวณที่เป็นโรคออกและเผาทำลาย แล้วฉีดพ่นไปที่แผลด้วย ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส”
ใส่กระบอกฉีด อัตรา 5-10 ซีซี/ น้ำ 2 ลิตร

- โรครากเน่า : พบอาการของโรคที่บริเวณรากฝอยซึ่งจะเป็นสีน้ำตาลดำและใบสีเหลือง ให้ใช้ ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส” อัตรา 20 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นที่ใบให้ทั่วทั้งต้น และใช้ ”อีเรเซอร์-1” ร่วมกับ “คาร์บ๊อกซิล-พลัส” ใส่ถังน้ำ
อัตรา 20-40 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ราดลงไปที่ดินบริเวณรอบโคนต้นหรือบริเวณใต้ต้น ต้นละ 10-20 ลิตร (0.5-1 ปี๊บ)

• สำหรับยางพารา : ผสมน้ำฉีดพ่น เพื่อป้องกันอาการหน้ายางตาย ใบร่วง เส้นดำ ทำให้หน้ายางนิ่ม กรีดง่าย อัตรา 5 ซีซี ต่อน้ำ 2 ลิตร (ทุก 10-15 วัน) หรือรักษายางหน้าตาย ให้ใช้อัตรา 10 ซีซี.ต่อน้ำ 2 ลิตร (ทุก 3-7 วัน ประมาณ 1 เดือน)




คู่หู..คู่นี้
เป็น..คู่หู “หยุด (โลก) โรค” จริงๆ
ไม่ว่าจะหยุดโรครากเน่า โรคโคนเน่า โรคเหี่ยว
โรคหวาดเสียวต่างๆ ทั้งโรคราน้ำค้าง ราแป้ง ราสีชมพู ราสีน้ำเงิน โรคใบไหม้ ไฟลามทุ่ง ใบจุดเหลี่ยม ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดตากบ ใบจุดลาย ใบจุดสีม่วง โรคใบติด ไวรัสใบหด ใบหงิก ใบด่าง ฯลฯ
โรคหยุด หยุดโรคได้
ถ้าใช้อย่างถูกวิธี และมีการป้องกันอย่างถูกต้อง
และถ้าเคยใช้ยาเคมีต่างๆ แล้วเอาไม่อยู่
มาลองดูคู่นี้ ที่เป็น “ทางเลือกใหม่” ดีไหม?
เพราะปลอดภัย และไม่ดื้อยา อีกทั้งยังไม่มีสารพิษตกค้าง ที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค

#คาร์บอกซิลพลัส + #อีเรเซอร์วัน

http://paccapon.blogspot.com/2017/04/blog-post.html?m=0
คู่หู..หยุดโรค







📝inbox สอบถามปรึกษาก่อนได้นะครับ
☎️:084 - 8809595 , 084-3696633
📲Line id :@organellelife.com (พิมพ์ @ด้วยนะครับ)
หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อน
เพื่อสอบถามข้อมูลได้ครับ

https://lin.ee/nTqrAvO
.
**รับตัวแทนจำหน่าย VIP ทั่วประเทศ



.



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น