FB

fbq('track', 'ViewContent');

วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2565

ให้ในสิ่งที่ใช่ และพืชต้องการ

 ให้..ในสิ่งที่ใช่ !! ให้..ในสิ่งที่พืชต้องการ

- ประโยชน์ของความสัมพันธ์ของสัดส่วนฮอร์โมนพืช
ต่อการทำหน้าที่ในระหว่างการลงหัว ในพืชหัว หรือ
ในระหว่างการเตรียมตัวสร้างผลผลิต ของพืช (Asantagonists, are essential
regulators during stem/root tuber development in various tuber
crops and Vegetable Plants)
๏ Gear = Plant Hormone
๏ Fuel = Fertilizer

๏ ปรับสมดุลย์ฮอร์โมน = เปลี่ยนเกียร์
(Vegetative/ Reproductive = GA/ JA)



● เพียง ๑ ครั้ง ช่วงที่สำคัญ ต่อการสร้างผลผลิต
ฉีดพ่น ‘เพียงครั้งเดียว’ ที่..ถูกช่วง ถูกเวลา ถูกอัตรา
- ปรับสมดุลย์ฮอร์โมน เพื่อเข้าสู่ช่วงระยะลงหัว
(Tuberization)
- ปรับสมดุลย์ฮอร์โมน เพื่อเข้าสู่ช่วงระยะสร้างดอก-
สร้างผล (Reprpductive)

👉 การันตี พืชทำหน้าที่ ได้ โดย “ไม่หลงทาง”
ประหยัด คุ้มค่า สร้างความพร้อม ไม่ให้พืชพลาด
ในการสร้างผลผลิต ติดผล-สร้างผล, ลงหัว

● ลงทุน..อะไร? ให้กับพืชของท่าน อย่างชาญฉลาด และ
คุ้มค่า กับสิ่งที่จะได้รับกลับคืนมา จากพืชของท่าน

- ต้องลงทุนให้กับพืช ในสิ่งที่จำเป็นต่อพืชอย่างแท้จริง
อย่างเช่น ชุด “ปรับสมดุลย์ฮอร์โมน” ที่พืชเขา
ต้องการในกระบวนการสร้างผลผลิตของเขา ฉีดพ่น
เพียง “ครั้งเดียว” ในช่วงที่ถูกต้อง & เหมาะสม พืช
เขาเองจะให้ผลลัพธ์ที่คุ้มค่าออกมาให้กับเรา

● ไม่ว่าจะเป็นพืชไหนๆ ไม่ว่าจะเป็นพืชอะไร? ไม่ว่าจะเป็น
พืชหัว ทุกชนิด หรือ พืชผักให้ผลต่างๆ ก็ตามที

👉 ครั้งเดียวพอ : ฉีดพ่นเพียง.. ”ครั้งเดียวพอ”
ใน “ปรับสมดุลย์ฮอร์โมน” เพื่อการสร้างผลผลิต
ย้ำ..!! “ครั้งเดียวพอ”




..........................................................................
🟣 แค่..”ปรับสมดุลย์ฮอร์โมน” (Plant Hormonal
Balance) ที่เหมาะสมและถูกต้อง ในช่วงระยะเวลา
(Growth Stage) ที่ใช่ให้พืช อะไร? ก็เกิดขึ้นได้
อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน
👉 อยากได้ผลผลิตที่ดี “หัวดก ผลดก ฝักดก รวงดก”
พร้อมทั้ง “หัวใหญ่ ผลใหญ่ ฝักใหญ่ รวงใหญ่”
ต้องให้สิ่งที่ใช่แก่เขา ต้อง “#ปรับสมดุลย์ฮอร์โมน
ให้เขาอย่างถูกต้อง ตามที่เขาต้องการ รับรองว่า
“งานเข้า” ผลผลิตล้นถังดั่งตั้งใจแน่ๆ



● การปรับสมดุลฮอร์โมนให้เหมาะสมต่อพืช
ในแต่ละช่วงของ Growth Development Stage
หัวใจสำคัญ ของการสร้างผลผลิตให้กับพืช
๏ ปรับสมดุลย์ฮอร์โมนใน Growth Stage ของพืช
ในช่วง Vegetative Growth Stage กับช่วง
Reproductive Growth Stage
● ความสมดุลย์ของฮอร์โมนพืช (Balance of Plant
Hormone) แต่ละช่วง คือ หัวใจสำคัญ ของการ
เจริญเติบโต และการให้ผลผลิตของพืช
- เราเชื่อว่า..การเปลี่ยนแปลงทั้งหลายของพืช เกิด
จากการกระตุ้น หรือการ “สั่งการ” จากฮอร์โมน
พืชแต่ละชนิด หรือพร้อมๆกันหลายชนิด
- เราเชื่อว่า..การเปลี่ยนสถานภาพ จากช่วงการ
เจริญเติบโตทางด้านลำต้น, กิ่งก้าน-สาขา และใบ
(Vegetative growth) ไปสู่ช่วงการเจริญพันธุ์ หรือ
การสร้างผลผลิต (Reproductive growth) หมาย
ถึง การสร้างดอก-สร้างผล, การสร้างหัว มีส่วน
สัมพันธ์กับ ปริมาณ “ฮอร์โมนพืช” (Plant
Regulator) ที่สมดุลในแต่ละช่วงด้วย



● มาศึกษาความต้องการของพืช ในแต่ละช่วงวัย ว่า
เขาต้องการอะไร และต้องการ “ตัวช่วย” อะไร เพื่อ
ให้การทำหน้าที่ของเขา ในทำงานได้อย่างถูกต้อง
สมบูรณ์ตามช่วงวัย (Growth & Development
Stage) ของเขา ในการสร้างการเจริญเติบโต และ
สร้างผลผลิตนั่นเอง
1) Early Growth (Establish Stage)
2) Vegetative growth Stage :
3) Reproductive Stage :
- Tuber Initiation (Tuberization)
- Tuber Formation
- Bulk Filling
4) Maturation Stage


● มาศึกษาความต้องการของพืช ในแต่ละช่วงวัย ว่า
เขาต้องการอะไร และต้องการ “ตัวช่วย” อะไร เพื่อ
ให้การทำหน้าที่ของเขา ในทำงานได้อย่างถูกต้อง
สมบูรณ์ตามช่วงวัย (Growth & Development
Stage) ของเขา ในการสร้างการเจริญเติบโต และ
สร้างผลผลิตนั่นเอง
1) Early Growth (Establish Stage)
2) Vegetative growth Stage :
3) Reproductive Stage :
- Flowering
- Fruit Formation
- Ripening
4) Maturation Stage



 
🔘 บทเสริม :
● การติดดอก-ออกผล ของพืช ให้ผล หรือพืชให้หัว
ในปัจจุบันเรา จึงหันมาสนใจในเรื่องของ
1. ความสมดุลย์ของพลังงาน (Balance of Energy)
- คือการพิจารณาการสะสมและการใช้พลังงานในรูป
ของคาร์โบไฮเดรตของพืช ควบคู่กับปัจจัยสภาพ
แวดล้อม เราเชื่อว่าการออกดอกของไม้ผลขึ้นอยู่
กับปัจจัยหลักๆ 2 ประการ คือ
(1) ความพร้อมของต้น
(2) สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
กล่าวคือ..ต้นพืช จะต้องสะสมพลังงาน เพื่อสร้างความพร้อมในรูปของปริมาณการสะสมคาร์โบไฮเดรตในต้นและใบให้สูงพอ ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
เพราะ..สภาพความพร้อมของต้น จะเปลี่ยนแปลงเป็นวัฏจักร ตามปริมาณการใช้และสะสมของพลังงาน เช่น หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว ต้นไม้ก็จะสูญเสียพลังงานไปในรูปของคาร์โบไฮเดรตปริมาณมาก จึงต้องมีการสะสมพลังงานขึ้นทดแทน โดยการสังเคราะห์แสงที่ใบ เพื่อให้ได้พลังงานเพียงพอ
เมื่อมีการสะสมพลังงานได้ระดับหนึ่งแล้ว จะมีการแตกใบอ่อน เพื่อทดแทนใบเก่าที่เริ่มเสื่อมประสิทธิภาพ ในการสังเคราะห์แสง และการสะสมพลังงานในขณะที่พืชแตกใบอ่อนนั้น ระดับของพลังงาน (คาร์โบไฮเดรต) ที่สะสมอยู่ในใบ หรือในต้นจะลดลง เนื่องจากพลังงานที่สะสมอยู่ถูกดึงมาใช้ในการพัฒนาการของใบอ่อน พลังงานจะค่อยๆ เพิ่มขึ้น เมื่อใบอ่อนเริ่มคลี่ และขยายขนาดจนเป็นใบเพสลาด (ใบที่เจริญเต็มที่แล้ว แต่ยังไม่แก่) เพราะใบสามารถสังเคราะห์แสงเองได้แล้ว
ความสามารถในการสังเคราะห์แสง จะเพิ่มขึ้นตามขนาด และความแก่ของใบ ปริมาณพลังงานที่สะสมอยู่ในใบจะสูงสุด เมื่อใบแก่และผ่านช่วงเวลาในการสังเคราะห์แสงมานานพอ เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสมพลังงานส่วนหนึ่งจะถูกนาไปใช้ในการสร้าง และพัฒนาการของตาดอก ต่อไป
พลังงาน จะถูกใช้ในการเจริญเติบโต หรือเคลื่อนย้ายไปสะสมในส่วนอื่นๆ ของพืช เช่นใช้ในการแตกใบอ่อน การขยายขนาดของลำต้น หรือกิ่ง และการเจริญเติบโตของราก เพื่อเป็นการรักษาประสิทธิภาพในการทำหน้าที่ของใบ และรากให้สมบูรณ์ พลังงานที่สะสมไว้จึงถูกดึงไปใช้ ทำให้พลังงานที่สะสมลดลง
ดังนั้น..พืชจะต้องใช้เวลาอีกระยะหนึ่งในการสร้าง และสะสมพลังงานให้เพียงพอ เพื่อที่จะใช้ในการสร้าง
ตาดอกต่อไป และรอจนกระทั่งสภาพแวดล้อมเหมาะสม จึงเกิดการกระตุ้น หรือชักนำให้เกิดตาดอกขึ้น และมีการพัฒนาการต่อไป
● ดังนั้น..แนวคิดนี้จึงถือว่า การสร้างความพร้อมของ
ต้นในเวลาที่สภาพแวดล้อมเหมาะสม เป็นหัวใจ
สำคัญในการออกดอกของพืชไม้ผล
2. ความสมดุลย์ของฮอร์โมนพืช (Balance of
hormone
- เราเชื่อว่า..การเปลี่ยนแปลงทั้งหลายของพืช เกิด
จากการกระตุ้น หรือการ “สั่งการ” จากฮอร์โมน
พืชแต่ละชนิด หรือพร้อมๆกันหลายชนิด
- เราเชื่อว่า..การเปลี่ยนสถานภาพ จากช่วงการ
เจริญเติบโตทางด้านลำต้น, กิ่งก้าน-สาขา และใบ
(Vegetative growth) ไปสู่ช่วงการเจริญพันธุ์ หรือ
การสร้างผลผลิต (Reproductive growth) หมาย
ถึง การสร้างดอก-สร้างผล, การสร้างหัว มีส่วน
สัมพันธ์กับ ปริมาณ “ฮอร์โมนพืช” (Plant
Regulator) ที่สมดุลในแต่ละช่วงด้วย



..........................................................................
เหตุผล 5 ข้อว่า ทำไม? ต้องใช่ชุดสั่งลงหัว
กระบวนการ Tuberization
เคล็ดลับปรับสมดุลย์ฮอร์โมนให้พืช
ปรับสมดุลย์ฮอร์โมนพืชให้ผล พืชหัว
ประสบการณ์ผู้ใช้ที่ส่งมาให้


สอบถามเพิ่มเติมได้นะครับ
📲inbox สอบถามปรึกษาก่อนได้
☎️:084 - 8809595 , 084-3696633
คลิ๊กที่ลิงค์นี้ เพื่อสอบถามและ ขอคำแนะนำ
เพิ่มเติมได้นะครับ https://lin.ee/nTqrAvO

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น