ต้อนรับเพื่อนบ้าน AEC ที่ซื้อสินค้าไปใช้และอยากได้ความรู้ตลอดจนสอบถามมาเรื่อง การปลูกมันสำปะหลัง โดยใช้องค์ความรู้ใหม่ๆ
สำหรับผู้สนใจหลายๆท่านจากป ระเทศเพื่อนบ้านเราอย่าง สปป.ลาว หรือประเทศกัมพูชา ที่มีทั้งนักศึกษาที่ประชาชนทั่วไปที่ปลูกมันสำปะหลัง ที่มาซื้อสินค้าและได้ติดต่อสอบถามมายังบริ ษัทว่า อยากได้เอกสารต่างๆที่เป็นภาษาของเขาเพื่อเอาไปสื่อสารเพื่อนบ้านของเขาได้ อีกทั้งยังอยากได้ความร ู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ทั้งที่ใช้กั บมันสำปะหลังและพืชอื่นๆ เพื ่อเอาไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์กับการเพิ่มผลผลิตของเขา
ก็.."จัดไป"..ครับท่าน
"ดก..ไว้ก่อน พ่อสอนไว้"
มัน 10 ตันต่อไร่ ต้องหาอะไรที่ "ใช่" มาพัฒนา
ต้องหา "องค์ความรู้" ใหม่ๆ ที่ "ใช่" มาใช้พัฒนาต้องหา "นวัตกรรม" ใหม่ๆ ที่ "ใช่" มาใช้พัฒนา
บางส่วนของกระบวนการทาง Biological และ Biochemical ของ
สำหรับผู้สนใจหลายๆท่านจากป
ก็.."จัดไป"..ครับท่าน
"ดก..ไว้ก่อน พ่อสอนไว้"
มัน 10 ตันต่อไร่ ต้องหาอะไรที่ "ใช่" มาพัฒนา
ต้องหา "องค์ความรู้" ใหม่ๆ ที่ "ใช่" มาใช้พัฒนาต้องหา "นวัตกรรม" ใหม่ๆ ที่ "ใช่" มาใช้พัฒนา
บางส่วนของกระบวนการทาง Biological และ Biochemical ของ
มันสำปะหลัง
กระบวนการ "ลงหัว" (Tuberization)
ในภาวะดินฟ้าอากาศของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป
จนเกิด"ภาวะวิกฤติโลก"(Global Warming)..
สำหรับสิ่งมีชีวิตทั้งคนและพืช
กระบวนการทำงานต่างๆภายในของพืช ก็เกิด"วิปริต"ตามมา กลไกทำงานได้ไม่สมบูรณ์ กลไกบางอย่างเกิดการสะดุดหรือบกพร่อง ต้องหาทางช่วยเหลือ เพราะขืนปล่อยไปมันจะเป็นสาเหตุทำให้ผลผลิตของพืชไม่สมบูรณ์และตกต่ำตามมา ไม่ว่าจะน้ำหนักหรือคุณภาพ
เพราะว่าหน้าที่ของเซลล์บางอย่างของพืชทำงานผิดปกติไป โดยเฉพาะในพืชมันสำปะหลัง อาทิตั้งแต่...
(1) กระบวนการสร้างเซลล์ระบบ "รากสะสมอาหาร"( Tuberous Root) ผิดปกติ ได้รากสะสมอาหารที่น้อย ไม่สมบูรณ์ โอกาสที่จะมีหัวมันจึงน้อยลงไป
(2) กระบวนการ"ลงหัว" (Tuberization) ไม่สมบูรณ์ การลงหัวไม่ดี มีหัวที่ไม่ได้รูปทรงและ หัวเจริญเติบโตช้า หัวไม่ใหญ่ หัวไม่สม่ำเสมอ เปอร์เซนต์แป้งต่ำ ไม่มีน้ำหนัก
กระบวนการ "ลงหัว" (Tuberization) ที่สมบูรณ์ หัวมันต้องได้รูปทรงดี หัวมีความสม่ำเสมอ ขนาดหัวใกล้เคียงกัน จำนวนหัวมากพอ หัวเจริญเติบโตเร็ว ใหญ่เร็ว หัวใหญ่ได้ขนาดสม่ำเสมอเท่าๆกัน เปอร์เซนต์แป้งดี หัวมันมีน้ำหนักมาก (เห็นการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการ "Tuberization" ตั้งแต่ 4 เดือน เป็นต้นไป)
ปัญหาเหล่านี้มีให้พบเห็นจนชินตา แต่ทว่า..ใครจะหาทางออกแบบใดและอย่างไร ก็ขึ้นอยู่ที่ว่าใครจะเข้าใจปัญหาแบบใด และเข้าใจว่าปัญหามันมาจากสาเหตุใด
จึงนับว่า..เรื่องนี้เป็นเรื่องใหญ่ที่ไม่ควรมองข้าม สำหรับเกษตรกรไทย
"ออร์กาเนลไลฟ์"..ใส่ใจในรายละเอียดของการเปลี่ยนแปลงของพืชและของโลก จึงขอศึกษาปัญหาต่างๆบางอย่างเหล่านี้
มันสำปะหลังทุกพันธุ์
ไม่ว่าจะเป็นพันธุ์ใดๆก็ตามทีโดยปกติเขาก็พร้อมที่จะ"ดก"ได้ทุกพันธุ์อยู่แล้ว
ถ้าหากกระบวนการทำงานภายในต่างๆทุกกระบวนการของเขาไม่ว่าจะกระบวนการทาง Biological,
Biochemical ดำเนินการไปได้เป็นปกติ อาทิ
กระบวนการสังเคราะห์แสง,กระบวนการสร้างฮอร์โมนต่างๆ,กระบวนการลงหัว
(Tuberization) ถ้ากระบวนการต่างๆมันสมบูรณ์และไม่บกพร่องมันต้องดกได้
แต่ในภาวะที่ดินฟ้าอากาศอย่างเช่นในปัจจุบันมันวิปริตมันเลยวิกฤตและมีปัญหาตามมาจนพืชปรับตัวไม่ทัน
และอีกเช่นกัน..เกือบทุกพันธุ์มันก็พร้อมที่จะ"ไม่ดก"ได้
ถ้าหากกระบวนการทำงานภายในต่างๆทุกกระบวนการที่กล่าวมาข้างต้นของมันเกิดไม่สมบูรณ์หรือบกพร่องขึ้นมาในภาวะที่ดินฟ้าอากาศวิปริตเช่นในปัจจุบันกระบวนการทำงานของมันก็อาจจะสะดุด
ดังนั้นเราจึงให้ความสำคัญกับ"ระบบและกระบวนการทำงานต่างๆภายในของพืช"เป็นสำคัญ
ที่อาจต้องสัมพันธ์กับปัจจัยสิ่งแวดล้อมต่างๆด้านดินฟ้าอากาศที่เป็นตัวแปรและเกี่ยวข้อง
อันอาจจะทำให้พืชปรับตัวได้ไม่สมบูรณ์
จนทำให้เกิดปัญหาในด้านกลไกการทำงานของกระบวนการต่างๆที่บกพร่องตามมาเพียงเพราะว่าอาจขาด"สารสำคัญ"ที่จำเป็นบางตัวหรือหลายๆตัวไปก็เป็นได้
ถ้าเราเข้าใจระบบการจัดการและเข้าใจกระบวนการทำงานต่างๆในหลายๆกระบวนการของมันสำปะหลัง
และพยายามทำให้สมบูรณ์ครบถ้วนและบกพร่องน้อยที่สุด
เราก็สามารถแก้ปัญหาได้ตรงจุดและปัญหาก็จะหมดไป
ดังนั้นเรื่องพันธุ์มันเราจึงให้ความสำคัญตรงที่เราควรเลือกพันธุ์ที่มีความบริสุทธิ์มากที่สุด
มีจุดด้อยหรือความอ่อนแอหรือมีความแปรปรวนในสายพันธุ์ให้น้อยที่สุดและที่สำคัญมันจะต้องเหมาะสมกับชนิดของดินที่ปลูกของเราให้มากที่สุดก็จะดีที่สุดครับ(ความคิดเห็นส่วนตัวนะครับ)
ภาคผนวก: กระบวนการ "TUBERIZATION"
เป็นกระบวนการที่เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับเซลล์เนื้อเยื่อเจริญ (Meristem cell) ที่อยู่บริเวณปลายรากของมันสำปะหลังเมื่อมันได้รับสารบางตัวใน "แอคซอน" (AXZON) ซึ่งเป็นเสมือนฮอร์โมนที่จำเป็นที่ทำให้เซลล์ดังกล่าวก็จะขยายตัว (Cell Enlargement) เพื่อรองรับการสะสมแป้งและโปรตีนอีกทั้งเซลล์ก็ยังจะแบ่งตัว (Cell Division) ในแนวขวาง (Lateral Growth) และหยุดการแบ่งตัวในแนวยาว (Elongation Growth)เพื่อให้เกิดการขยายเซลล์รากให้บวมขึ้นเป็นหัว (Tuber) และเปลี่ยนหน้าที่เซลล์ (Cell Differentiate) เพื่อทำให้ Stolon หรือ Root เปลี่ยนมาทำหน้าที่สะสมอาหารแทน
การลงหัว (Tuberization) จะดีขึ้นและหัวมีขนาดใหญ่ขึ้นยังขึ้นอยู่กับระดับน้ำตาลในต้นมันสำปะหลังด้วย ดังนั้นการสังเคราะห์แสง(Photosynthesis) ที่ดีและสมบูรณ์จะช่วยให้การลงหัวดีและสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ดังนั้นการที่เราอาจจะเลียนแบบธรรมชาติโดยการไม่ต้องพึ่งพาการสังเคราะห์แสงแต่เพียงอย่างเดียว แต่มีการเลียนแบบธรรมชาติโดยการให้น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวตัวเดียวกันกับที่พืชสังเคราะห์แสงได้ป้อนให้กับมันสำปะหลังด้วยก็จะช่วยให้มีการลงหัวที่ดีขึ้นและสุดยอดขึ้น ดังนั้นการใช้ "ซูการ์-ไฮเวย์"(ZUKAR-Highway) ร่วม ด้วยจึงมีความจำเป็น
นี่คือ..คำตอบ ในการพัฒนาผลผลิตพืชลงหัวในยุคใหม่แห่งโลกอนาคตทางการเกษตร
“Photoperiod”
ในธรรมชาติ “Photoperiod”: หรือระยะเวลาที่พืชได้รับแสงต่อวันและอุณหภูมิจะมีผลต่อการลงหัวของพืชตระกูลที่มีการลงหัว เมื่อช่วงเวลารับแสงเหมาะสม และอุณหภูมิที่ลดต่ำลงพืชจะสังเคราะห์ “Jasmonic acid” (JA) ที่ใบและหลังจากนั้นก็จะถูกเคลื่อนย้ายไปยังลำต้นที่ทอดเป็นแนวราบไปตามดิน (Stolon) หรือราก (Root) จนทำให้เกิดหัวเป็นแนวรัศมี
(Radial Growth) เป็นจำนวนมาก
“การลงหัว” : เกิดจากการเปลี่ยนแปลงระดับเซลล์ที่เซลล์เนื้อเยื่อเจริญ (Subapical meristem cell) ที่อยู่บริเวณปลายรากและปลายยอดของพืช
หลังจากได้รับ JA ในปริมาณที่เหมาะสม ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่โครงสร้างเซลล์ดังนี้
1. Cell Enlargement (การขยายตัวของเซลล์)
: เซลล์จะมีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อรองรับการสะสมแป้งและโปรตีน
2. Cell Division (การแบ่งตัวของเซลล์)
: เซลล์เริ่มแบ่งตัวในแนวขวาง (Lateral) และหยุดแบ่งตัวในแนวยาว (Elongation) ทำให้เกิดลักษณะบวมขึ้นเป็น “หัว”
3. Cell Differentiation (การเปลี่ยนสภาพและหน้าที่)
: ทำให้เกิดการเปลี่ยน Stolon หรือ Root ไปทำหน้าที่ให้เหมาะสม สะสมอาหารและเซลล์ท่อลำเลียง (Vehicle tube Cell) ก็เปลี่ยนสภาพเพื่อทำให้การลำเลียงอาหารมาสะสมที่หัวอย่างมีประสิทธิภาพ,สะดวกและง่ายขึ้น อาหารถูกสะสมได้มากขึ้นที่หัวการสังเคราะห์แสงเพื่อให้ได้ปริมาณระดับน้ำตาลที่สูงจะช่วยให้การลงหัวดีและมีขนาดใหญ่ขึ้น
www.organellelife.com
www.organellelife-vdo.com
www.facebook.com/organellelife.org
Line ID:organellelife
มันสำปะหลัง เป็นพืชเศรษฐกิจ ที่สำคัญ ที่สุดพืชหนึ่งของไทย ที่ผ่านมา มีการวิจัย และพัฒนาเกี่ยวกับมันสำปะหลัง อย่างกว้างขวาง จนทำให้ไทยเป็นประเทศแนวหน้าในวงการอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวกับมันสำปะหลัง มีหลายคนบอกว่า อนาคต มันสำปะหลังจะกลายเป็นบ่อน้ำมันบนดินของประเทศไทย แต่ถ้าหันมามองเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังส่วนใหญ่แล้ว จะเป็นเกษตรกรผู้มีรายได้น้อย ไม่ค่อยมีทุน ทำให้ได้ผลผลิตที่ต่ำเฉลี่ยเพียงแค่ 3-4 ตันต่อไร่เท่านั้น
ดังนั้นจึงเกิดแนวทางการปลูกมันสำปะหลังแนวทางใหม่ขึ้นมา เพื่อการผลิตมันสำปะหลังให้ได้มากกว่า 10-20 ตันต่อไร่ ในต้นทุนที่ต่ำ กับค่าใช้จ่ายที่เกษตรกรสามารถเลือกลงทุนได้เองกับปัจจัยการผลิตต่างๆที่ไม่มีใครบังคับ เพราะทุกอย่างเป็นทางเลือก และเราได้คัดปัจจัยมานำเสนอในส่วนที่คิดว่าเป็นประโยชน์ต่อพืชจริงๆ และตรงกับประเด็นปัญหาของมันสำปะหลังในยุคปัจจุบันมากที่สุด
“1 พื้นฐาน 3 กระบวนการ” ที่สำคัญกับการปลูกมันสำปะหลัง
1 พื้นฐาน คือ “ดิน” ดินควรมีการปรับปรุง บำรุงดินให้ดินมีชีวิต (ไม่ใช่ดินตาย) ดินที่มีอินทรียวัตถุมากเพียงพอ ดินที่มีโครงสร้างที่ดี ไม่แน่นทึบ โปร่งร่วนซุย ระบายน้ำและอากาศได้ดี และมีจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ที่มากพอ เพื่อการย่อยสลายอินทรียวัตถุในดิน
3 กระบวนการ คือ
1. กระบวนการ “สั่งราก” (Root Cell Revitalization) รากที่ดีต้องเป็น “รากสะสมอาหาร” หรือที่เราเรียกว่า “Tuburous Root”
2. กระบวนการ “สั่งลงหัว” (Tuberization) โดยเปลี่ยนรากให้เป็นหัว เป็นกระบวนการที่เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับเซลล์เนื้อเยื่อเจริญ จะแบ่งตัวในแนวขวาง และหยุดการแบ่งตัวในแนวยาว เพื่อให้เกิดการขยายเซลล์รากให้บวมขึ้นเป็นหัว
3. กระบวนการ “สั่งแป้ง” (Starch Biosynthesis) เพิ่มปริมาณแป้งและโปรตีนให้สูงขึ้น มีน้ำหนักมากขึ้น ได้เปอร์เซ็นต์แป้งสูง
ขั้นตอนง่าย ๆ ในการปลูกมันสำปะหลังให้ได้ 10 ตันต่อไร่ ขึ้นไป
1. ขั้นตอนการเตรียมดิน ให้หว่าน "ซอยล์แอสท์" ไร่ละ 50-100 กก หลังจากไถขึ้นแปลงแล้ว ให้ใช้รถไถใหญ่ใช้ผาน 2 หรือผาน 3 ไถดะ ตากดินไว้ 7 วัน ใช้ระยะปลูกระหว่างแถว 120 ซม. ระหว่างต้น 80-100 ซม.
2. ขั้นตอนเตรียมต้นพันธุ์ จะใช้ต้นพันธุ์ประมาณไร่ละ 200 ต้น ให้ตัดต้นพันธุ์ ยาว 20 เซนติเมตร ต้นพันธุ์ 1 ต้น จะตัดได้ 10 ท่อน
3. ขั้นตอนการแช่ท่อนพันธุ์ หรือ กระบวนการ “สั่งราก” เพื่อช่วยในการแตกเซลล์ราก และป้องกันเพลี้ย ขั้นตอนนี้สำคัญมาก เพราะมันสำปะหลัง รากคือหัว หัวคือราก ฉะนั้นหากเราอยาก ได้หัวมากๆ หัวดก ๆ เราก็ต้องทำให้ท่อนพันธุ์มัน มีรากออกมามากที่สุดอย่างน้อยหลายร้อยราก ก่อนปลูกควรแช่ท่อนพันธ์ด้วย ซาร์คอน อัตรา 20 ซีซี ผสม ซอยล์ไลฟ์ อัตรา 25 กรัม ผสม ออร์ซ่า อัตรา 4 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร แช่ไว้ประมาณ 1 ชั่วโมง นำออกผึ่งไว้ในที่ร่ม
4. ขั้นตอนการปลูก ให้ปลูกระยะ 80 เซนติเมตรปักต้นมันให้ลึก 10 เซนติเมตรหรือครึ่งหนึ่งของท่อนพันธุ์ ปักลงไปตรง ๆ แล้วผลักให้ล้มเสมอดินหลังจากปลูกเสร็จให้ผสม ซอยล์ไลฟ์ 25 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นลงดินให้ทั่ว
5. ขั้นตอนการให้ปุ๋ยทางใบ เพื่อ"กระตุ้นแตกราก กระชากแตกใบ" เมื่อปลูกได้ 7-14 วัน ให้ฉีดพ่น ไบโอเจ็ท อัตรา 10 กรัม ซาร์คอน อัตรา 20 ซีซี และออร์ซ่า อัตรา 4 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทุกๆ 7 -10 วันครั้ง อย่างน้อย 3-4 ครั้ง
6. ขั้นตอนการให้ปุ๋ยทางดินรอบที่ 1 เมื่อปลูกได้ 21-25 วัน ให้ใส่ปุ๋ยอินทรีย์-เคมี ออร์กรีน-พลัส สูตร 12-3-3 ผสมฮอร์โมนอาหารเสริมพืช(ชนิดเม็ด) กรีนอัพ อัตรา 25 กก.+ 25 กก. และฉีดพ่นที่ดินด้วย ซอยล์ไลฟ์ อัตรา 25 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร
7. ขั้นตอนการให้ปุ๋ยทางดินรอบที่ 2 เมื่อปลูกได้ 75-90 วันให้ใส่ปุ๋ยอินทรีย์-เคมี ออร์กรีน-พลัส สูตร 12-3-3 ผสมฮอร์โมนอาหารพืช(ชนิดเม็ด) กรีนอัพ อัตรา 25 กก.+ 25 กก.
8. ขั้นตอนการ “สั่งลงหัว” ขั้นตอนนี้สำคัญมาก เพื่อให้มันสำปะหลังหัวดก เมื่อปลูกได้ 75-90 วัน ฉีดพ่น แอคซอน อัตรา 20 ซีซี และออร์ซ่า อัตรา 4 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นเพียง “ครั้งเดียว” ฉีดพ่นที่ใบให้เป็นละอองฝอยทั่วทั้งแปลง
9. ขั้นตอนการขยายขนาดหัวมัน “สั่งแป้ง” หลังปลูกได้ 120-150 วัน ฉีดพ่น พาร์ทเวย์-เพาเวอร์-5 อัตรา 20 ซีซี ผสมกับ ซูการ์-ไฮเวย์ อัตรา 20 ซีซี และออร์ซ่า 4 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทุกๆ 10-15 วันครั้ง ฉีดได้เรื่อยๆ 3-4 ครั้ง ฉีดพ่นให้เป็นละอองฝอยทั่วทั้งแปลง
สอบถามข้อมูลการปลูกมันสำปะหลังด้วยนวัตกรรมใหม่ ได้ที่
บริษัท ออร์กาเนลไลฟ์ (ประเทศไทย) จำกัด
โทร. 084-880-9595 , 084-369-6633 หรือ Line ID : organellelife
หรือศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.organellelife.com
"แอคซอน"(AXZON): กรดอินทรีย์ที่สำคัญในการทำหน้าที่ในกระบวนการ"ลงหัว"(Tuberization) ของพืช
"แอคซอน"(AXZON) : ไม่ใช่ปุ๋ยน้ำ ไม่ใช่ปุ๋ยเหลว ไม่ใช่ปุ๋ยเทวดา ไม่ใช่ฮอร์โมนนางฟ้า ไม่ใช่สารจากดาวอังคาร หรือสารนาโนใดๆทั้งสิ้น
แต่.."แอคซอน" (AXZON) เป็นกรดอินทรีย์สังเคราะห์(The Synthesis of Organic acid)ที่จำเป็นหลายๆตัวที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานในกระบวนการลงหัว Tuberization กระบวนการทางชีวเคมี (Biochemistry) ภายในเซลล์ของพืช ซึ่งใช้ในการควบคุมการทำงานของกระบวนการ "Tuberization"(ลงหัว)
แอคซอน(AXZON) คือส่วนหนึ่งที่เป็นหัวใจสำคัญของ Tuberization (กระบวนการมันลงหัว)
เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง สามารถศึกษาเพื่อสร้างความเข้าใจในกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของพืชในเรื่องกระบวนการทำงานต่างๆของพืชได้หรือต้องการทดสอบ"แอคซอน"(AXZON) กับกระบวนการลงหัว(Tuberization) สำหรับมันสำปะหลังของท่านได้ใช้ "ใช่" หรือ "ไม่ใช่" ท่านค่อยตัดสินใจเอาเอง ถ้า "ใช่" ท่านก็ได้อาวุธใหม่ในการพัฒนาอาชีพปลูกมันของท่าน แต่ถ้า"ไม่ใช่"ก็คิดว่าเสียค่าวิชาเพราะต่อไปท่านจะได้ไม่พลาดอีกต่อไป แต่สำหรับเรา..เรามั่นใจว่า"ใช่" แต่ถ้าท่านเห็นว่า "ไม่ใช่" ใช้ไปแล้วไม่ได้ผลเราก็ยินดีคืนเงินให้แก่ท่านเพราะมันไม่มีประโยชน์อะไรที่จะมาทำร้ายและเอาเปรียบท่าน เพราะเราเองมุ่งมั่นมา"เพื่อให้" ไม่ใช่มา "เพื่อรับ" แต่เพียงอย่างเดียว
"ดก..ไว้ก่อน พ่อสอนไว้"
มัน 10 ตันต่อไร่ ต้องหาอะไรที่ "ใช่" มาพัฒนา
ต้องหา "องค์ความรู้"ใหม่ๆ ที่ "ใช่" มาใช้พัฒนา
ต้องหา "นวัตกรรม" ใหม่ๆ ที่ "ใช่" มาใช้พัฒนา
“ດົກໄວ້ກ່ອນ ພໍ່ສອນໄວ້”
ແອກຊອນ
ຂະບວນການ “TUBERIZATION” ກັບກົນໄກ “ການລົງຫົວ” (Tuber) ເປັນຂະບວນການທີ່ເກີດການປ່ຽນແປງລະດັບຈຸລັງເນື້ອເຍື່ອຈະເລີນ (Meristem cell) ທີ່ຢູ່ບໍລິເວນປາຍຮາກຂອງມັນຕົ້ນ ເມື່ອມັນໄດ້ຮັບສານບາງຢ່າງໃນ “ແອກຊອນ” (AXZON) ເຊິ່ງປຽບເຫມືອນຮໍໂມນທີ່ຈຳເປັນທີ່ເຮັດໃຫ້ຈຸລັງດັ່ງກ່າວຂະຫຍາຍໂຕ (Cell Enlargement) ເພື່ອຮອງຮັບການສະສົມແປ້ງແລະໂປຣຕີນອີກທັງຈຸລັງກໍ່ຍັງຈະແບ່ງຕົວ (Cell Division) ໃນທາງຂວາງ (Lateral Growth) ແຫລະຫຍຸດການແບ່ງຕົວໃນແນວຍາວ (Elongation Growth) ເພື່ອໃຫ້ເກີດການຂະຫຍາຍຈຸລັງຮາກໃຫ້ບວມຂື້ນເປັນຫົສ (Tuber) ແລະປ່ຽນຫນ້າທີ່ຈຸລັງ (Cell Differentiate) ເພື່ອເຮັດໃຫ້ Stolon ຫລື Root ປ່ຽນມາເຮັດຫນ້າທີ່ສະສົມອາຫານແທນ
ອົງປະກອບທີ່ມີສ່ວນກ່ຽວຂ້ອງກັບຂະບວນການເຮັດວຽກຂອງຂະບວນການ “TUBERIZATION”
เป็นกระบวนการที่เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับเซลล์เนื้อเยื่อเจริญ (Meristem cell) ที่อยู่บริเวณปลายรากของมันสำปะหลังเมื่อมันได้รับสารบางตัวใน "แอคซอน" (AXZON) ซึ่งเป็นเสมือนฮอร์โมนที่จำเป็นที่ทำให้เซลล์ดังกล่าวก็จะขยายตัว (Cell Enlargement) เพื่อรองรับการสะสมแป้งและโปรตีนอีกทั้งเซลล์ก็ยังจะแบ่งตัว (Cell Division) ในแนวขวาง (Lateral Growth) และหยุดการแบ่งตัวในแนวยาว (Elongation Growth)เพื่อให้เกิดการขยายเซลล์รากให้บวม
ขึ้นเป็นหัว (Tuber) และเปลี่ยนหน้าที่เซลล์ (Cell Differentiate) เพื่อทำให้ Stolon หรือ Root เปลี่ยนมาทำหน้าที่สะสมอาหารแทน
การลงหัว (Tuberization) จะดีขึ้นและหัวมีขนาดใหญ่ขึ้นยังขึ้นอยู่กับระดับน้ำตาลในต้นมันสำปะหลังด้วย ดังนั้นการสังเคราะห์แสง(Photosynthesis) ที่ดีและสมบูรณ์จะช่วยให้การลงหัวดีและสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ดังนั้นการที่เราอาจจะเลียนแบบธรรมชาติโดยการไม่ต้องพึ่งพาการสังเคราะห์แสงแต่เพียงอย่างเดียว แต่มีการเลียนแบบธรรมชาติโดยการให้น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวตัวเดียวกันกับที่พืชสังเคราะห์แสงได้ป้อนให้กับมันสำปะหลังด้วยก็จะช่วยให้มีการลงหัวที่ดีขึ้นและสุดยอดขึ้น ดังนั้นการใช้ "ซูการ์-ไฮเวย์"(ZUKAR-Highway) ร่วม ด้วยจึงมีความจำเป็น
นี่คือ..คำตอบ ในการพัฒนาผลผลิตพืชลงหัวในยุคใหม่แห่งโลกอนาคตทางการเกษตร
“Photoperiod”
ในธรรมชาติ “Photoperiod”: หรือระยะเวลาที่พืชได้รับแสงต่อวันและอุณหภูมิจะมีผลต่อการลงหัวของพืชตระกูลที่มีการลงหัว เมื่อช่วงเวลารับแสงเหมาะสม และอุณหภูมิที่ลดต่ำลงพืชจะสังเคราะห์ “Jasmonic acid” (JA) ที่ใบและหลังจากนั้นก็จะถูกเคลื่อนย้ายไปยังลำต้นที่ทอดเป็นแนวราบไปตามดิน (Stolon) หรือราก (Root) จนทำให้เกิดหัวเป็นแนวรัศมี
(Radial Growth) เป็นจำนวนมาก
“การลงหัว” : เกิดจากการเปลี่ยนแปลงระดับเซลล์ที่เซลล์เนื้อเยื่อเจริญ (Subapical meristem cell) ที่อยู่บริเวณปลายรากและปลายยอดของพืช
หลังจากได้รับ JA ในปริมาณที่เหมาะสม ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่โครงสร้างเซลล์ดังนี้
1. Cell Enlargement (การขยายตัวของเซลล์)
: เซลล์จะมีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อรองรับการสะสมแป้งและโปรตีน
2. Cell Division (การแบ่งตัวของเซลล์)
: เซลล์เริ่มแบ่งตัวในแนวขวาง (Lateral) และหยุดแบ่งตัวในแนวยาว (Elongation) ทำให้เกิดลักษณะบวมขึ้นเป็น “หัว”
3. Cell Differentiation (การเปลี่ยนสภาพและหน้าที่)
: ทำให้เกิดการเปลี่ยน Stolon หรือ Root ไปทำหน้าที่ให้เหมาะสม สะสมอาหารและเซลล์ท่อลำเลียง (Vehicle tube Cell) ก็เปลี่ยนสภาพเพื่อทำให้การลำเลียงอาหารมาสะสมที่หัวอย่างมีประสิทธิภาพ,สะดวกและง่ายขึ้น อาหารถูกสะสมได้มากขึ้นที่หัวการสังเคราะห์แสงเพื่อให้ได้ปริมาณระดับน้ำตาลที่สูงจะช่วยให้การลงหัวดีและมีขนาดใหญ่ขึ้น
ປູກ…
ມັນຕົ້ນ
10 ໂຕນ/ໄຮ່
ບໍ່ແມ່ນເລື່ອງ ຍາກອີກຕໍ່ໄປ
ສັ່ງສ້າງ “ຮາກສະສົມອາຫານ” (Tuberous root)
“ສັ່ງລົງຫົວ” ໃນຂະບວນການ “TUBERIZATION”
ສັ່ງສ້າງແປ້ງ ໃນຂະບວນການ “Starch Synthesis”
Hotline: ສາຍດ່ວນມັນຫົວດົກ 804-880-9595
Line ID: organellelife
ກຽມດິນ: ໄຖຂື້ນຫນານໄລຍະປູກ 1.20 x 0.80 ແມັດ
ຫວ່ານ “ຊອຍສ໌ແອສທ໌” ປັບສະພາບດິນ
ກຽມຕົ້ນພັນ: ທ່ອນຂະຫນາດຍາວ 20 ຊມ. ໃຫຍ່ເທົ່າຫລຽນ10ບາດ
ແຊ່ທ່ອນພັນ: ເພື່ອປ້ອງກັນພະຍາດເນົ່າ, ປ້ອງກັນເພ້ຍແປ້ງ, ແມງຫວີ່ຂາວ
ແລະເພື່ອສ້າງ “ຮາກສະສົມອາຫານ” (Tuberous root)
ດ້ວຍ “ຊາຣ໌ຄອນ” ປະສົມ “ອໍຊ່າ”
ການປູກ: (1) ປັກທ່ອນພັນເລິກ 10 ຊມ. ຕັ້ງໃຫ້ອຽງສະເຫມີດິນ ເມື່ອແຕກໃບຊຸດທຳອິດໃຫ້ສີດພົ່ນດ້ວຍ “ໄບໂອເຈັດ” ເພື່ອ “ກະຕຸ້ນແຕກຮາກ ກະຊາກແຕກໃບ”
(2) ເມື່ອອາຍຸໄດ້ 21 – 25 ວັນ ເລີ່ມການໃສ່ຝຸ່ນໃຫ້ປະສົມ “ກຣີນອັພ” ຮໍໂມນແລະອາຫານເສີມພືດ (ຊະນິດເມັດ) ລົງໄປດ້ວຍ ເພື່ອປ້ອງກັນ “ຄວາມຫິວທີ່ເຊື່ອງຊ້ອນ”
ການລົງຫົວ (TUBERIZATION): ເມື່ອອາຍຸໄດ້75-90 ວັນ ກໍ່ສັ່ງ “ລົງຫົວ” ດ້ວຍ “ແອກຊອນ” ສານສຳຄັນສຳລັບມັນລົງຫົວ ລົງຫົວໄວ ຫົວໃຫຍ່ໄວ ຫົວດົກ
ການສ້າງແປ້ງ: ເມື່ອອາຍຸໄດ້ 4 ເດືອນຂື້ນໄປໃຫ້ສີດພົ່ນດ້ວຍ “ຊູກາໄຮເວ” + ພາວເວີ-5 3-4 ເທື່ອ ທຸກ 10-15 ວັນ ເພື່ອເພີ່ມການສະສົມແປ້ງ ສ້າງເປີເຊັນແປ້ງ
ຫມາຍເຫດ: ເຮັດຄົບຂະບວນການຫລັກໆແລ້ວຫລັງຈາກນັ້ນຜົນລັບກໍ່ຈະໃກ້ຄຽງເປົ້າຫມາຍທີ່ວາງໄວ້ (ຍົກເວັ້ນ: ຕົວແປທີ່ເຮົາບໍ່ສາມາດຄວບຄຸມໄດ້ ເຊັ່ນ ສະພາບອາກາດ ແລະປະລິມານນ້ຳທີ່ໄດ້ຮັບ)
ບໍລິສັດ ອໍກາແນລໄລຟ໌ (ປະເທດໄທ) ຈຳກັດ
ສຳນັກງານໃຫຍ່ 99/122 ຫມູ່ 6 ມ. ຊົນລະດາ (ວົງແຫວນຣັດຕະນາທິເບດ) ຖະຫນົນບາງໄຜ່-ຫນອງເພຣາງາຍ
ຕ. ບາງຣັກພັດທະນາ ອ.ບາງບົວທອງ ຈ.ນົນທະບູຣີ 11110 ໂທ 02-9654089 . 084-8809595 . 084-3696633
http://www.paccapon.blogspot.com/2015/08/tuberization.html
http://www.paccapon.blogspot.com/2015/08/blog-post_24.html
http://www.paccapon.blogspot.com/2015/03/10-20.html
สำหรับเพื่อนบ้าน กัมพูชา ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา ที่สอบถามมาครับ
ติดต่อสอบถาม
084-8809595 , 084-3696633
www.organellelife.com
www.organellelife-vdo.com
www.facebook.com/organellelife.org
Line ID:organellelife