หลายคนสงสัย
ว่า..ทำไม? มันสำปะหลังถึง "บ้าหัว"
#หัวดกหัวใหญ่ จัง !!
สำหรับ..มันสำปะหลัง
ทำอย่างไร? ให้ "หัวดก หัวใหญ่"
ที่นี่..เรามีคำตอบให้
.
.
กระบวนการ Root Revitalization (สร้างระบบราก)
.
หลายท่านถามว่า..ทำไม?
ต้องแช่ "ซาร์คอน"
เหตุผล..ที่ต้องแช่ "ซาร์คอน"
เพราะ..ก็เหมือนกันกับการมีลูก
ซึ่งตัองดูแลตั้งแต่..การ "ตั้งครรภ์"
ต้องป้องกันโรคต่างๆ พร้อมให้สารจำเป็นที่มีประโยชน์ต่อการเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง และการเจริญเติบโตที่ดีต่อไป
.
"ซาร์คอน"(SARCON) กรดอินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อกระบวนการ "Revitalize" เซลล์รากและการแช่ "ซาร์คอน" ส่วนหนึ่งก็เพื่อให้ได้
"รากดก รากเยอะและสมบูรณ์ แข็งแรง" พร้อมที่จะเป็นราก "Tuberous root" (รากสะสมอาหาร) ให้ได้ปริมาณที่มากพอ
และนี่..เพียงแค่หนึ่งในหลายๆคุณประโยชน์ของกรดอินทรีย์ที่มีอยู่ใน "ซาร์คอน" หลายๆชนิด ที่ทำหน้าที่ได้มากมายในระดับเซลล์ของพืช และยังมีอีกที่รวมหน้าที่อื่นๆที่สำคัญ อาทิ
.
1) Revitalize ระบบเซลล์ราก (รากมาก รากเยอะ รากแข็งแรง) และเป็นรากสะสมอาหารเป็นส่วนใหญ่
.
2) Systemic Acquired Resistances (SAR) กระบวนการภูมิคุ้มกันโรคเสมือนได้รับ "วัคซีน" (โรคใบไหม้ ใบหงิก โรครากเน่า โรคหัวเน่า โรคเหี่ยวเฉา บรรเทาและเบาบาง ลงไป)
.
3) Drought Tolerance ต้านทานความแห้งแล้ง ความร้อน ทนทานต่อการเหี่ยว การขาดแคลนน้ำ
.
4) Agglomeration กระบวนการสร้างผลึกแข็ง( Colliods Aggregrate) ของ Orthosilisic acid เพื่อไปสะสมที่ผนังเซลล์(Cell Wall) ทำให้ผนังแข็งแกร่งดุจคอนกรีต ป้องกันเพลี้ยต่างๆ มาเจาะดูดน้ำเลี้ยงและปล่อยเชื้อไวรัสไว้
.
5) ให้พืชได้รับธาตุอาหารเสริมประโยชน์ Silicon ( Si ) (จากคุณสมบัติของOrthosilicic acid)
.
6) ช่วยกระตุ้นให้ต้นมันสำปะหลังเจริญเติบโตได้ดีเสมือนพืชได้รับ Phytohormone (จากคุณสมบัติของ Monohydroxy benzoic acid)
.
.
กระบวนการ Tuberization (ลงหัว)
ช่วงอายุประมาณ 60-90 วัน จะเป็นช่วงอายุ Growth Stage ของมันสำปะหลังที่จะเปลี่ยนการเจริญเติบโตมาเป็นการ "ลงหัว" (Tuberize) เพื่อสะสมอาหารที่หัว มันจะมีการสังเคราะห์ฮอร์โมนตัวหนึ่งขึ้นมาควบคุมกระบวนการลงหัว (Tuberization) ซึ่งฮอร์โมนตัวนี้มันสำปะหลังสังเคราะห์ขึ้นได้เองตามธรรมชาติซึ่งต้องอาศัยความสัมพันธ์ของปริมาณแสงและอุณหภูมิที่เหมาะสม แต่ถ้าความสัมพันธ์ของแสงและอุณหภูมิ ไม่สัมพันธ์กัน มากไปหรือน้อยไป มันก็ไม่เพียงพอต่อการสร้างฮอร์โมนตัวนี้ การลงหัวก็จะสะดุดและลงหัวได้ไม่ค่อยดี หรือไม่มีการลงหัว มัวแต่หลงทาง และงามแต่ต้นงามแต่ใบ ไม่มีหัวหรือมีหัวจำนวนน้อย ถ้าฮอร์โมนตัวนี้เพียงพอการลงหัวก็จะดี ทุกอย่างเป็นกระบวนการทางชีวเคมี(Biochemistry) ซึ่งเป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่พิสูจน์ได้ ถึงกลไกต่างๆ ถ้าเราเลียนแบบธรรมชาติโดยการสร้างสารบางอย่างหรือฮอร์โมนบางอย่างที่มันพร่องหรือมันขาดแคลนและนำสารหรือฮอร์โมนนั้นๆมาทดแทนในส่วนที่ขาดแคลนนี้ให้แก่พืชได้ พืชย่อมดีใจและสามารถทำหน้าที่ในกระบวนการต่างๆต่อไปได้อย่างสมบูรณ์
.
ในธรรมชาติ Photoperiod หรือระยะเวลาที่พืชได้รับแสงต่อวันและอุณหภูมิจะมีผลต่อการลงหัวของพืชตระกูลที่มีการลงหัว เมื่อช่วงเวลารับแสงเหมาะสม และอุณหภูมิที่ลดต่ำลงพืชจะสังเคราะห์ Jasmonic acid (JA) ที่ใบและหลังจากนั้นก็จะถูกเคลื่อนย้ายไปยังลำต้นที่ทอดเป็นแนวราบไปตามดิน (Stolon) หรือราก (Root) จนทำให้เกิดหัวเป็นแนวรัศมี (Radial Growth) เป็นจำนวนมาก
.
"การลงหัว" เกิดจากการเปลี่ยนแปลงระดับเซลล์ ที่เซลล์เนื้อเยื้อเจริญ (Subapical meristem cell) ที่อยู่บริเวณปลายรากและปลายยอดของพืช หลังจากได้รับ Jasmonic acid (JA) ในปริมาณที่เหมาะสม ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่โครงสร้างเซลล์ดังนี้
.
1. Cell Enlargement (การขยายตัวของเซลล์) : เซลล์จะมีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อรองรับการสะสมแป้งและโปรตีน
.
2. Cell Division (การแบ่งตัวของเซลล์) : เซลล์เริ่มแบ่งตัวในแนวขวาง (Lateral) และหยุดแบ่งตัวในแนวยาว (Elongation) ทำให้เกิดลักษณะบวมขึ้นเป็น หัว
.
3. Cell Differentiation (การเปลี่ยนสภาพและหน้าที่) : ทำให้เกิดการเปลี่ยน Stolon หรือ Root ไปทำหน้าที่ให้เหมาะสม สะสมอาหารและเซลล์ท่อลำเลียง (Vehicle tube Cell) ก็เปลี่ยนสภาพเพื่อทำให้การลำเลียงอาหารมาสะสมที่หัว อย่างมีประสิทธิภาพ,สะดวกและง่ายขึ้น อาหารถูกสะสมได้มากขึ้นที่หัว การสังเคราะห์แสงเพื่อให้ได้ปริมาณระดับน้ำตาลที่สูงจะช่วยให้การลงหัวดีและมีขนาดใหญ่ขึ้น
.
เมื่อได้รับ AXZON (Jasmonic acid , Glutamic acid and Organic acid compound) จะช่วยให้เซลล์บริเวณ Storage Root มีขนาดใหญ่และมีจำนวนมากขึ้นทำให้พร้อมสะสมแป้งและโปรตีนมากขึ้น อีกทั้งการเคลื่อนย้ายโปรตีนและแป้งทำให้ง่ายขึ้น หัวเลยใหญ่ขึ้นอย่างรวดเร็ว
.
การลงหัวของมันสำปะหลัง (Tuberization) จะดีขึ้นและหัวมีขนาดใหญ่ขึ้น ยังขึ้นอยู่กับระดับน้ำตาลในต้นมันสำปะหลังด้วย ดังนั้นการสังเคราะห์แสง (Photosynthesis) ที่ดีและสมบูรณ์จะช่วยให้การลงหัวดีและสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ดังนั้นการที่เราอาจจะเลียนแบบธรรมชาติโดยการไม่ต้องพึ่งพาการสังเคราะห์แสงแต่เพียงอย่างเดียว แต่มีการเลียนแบบธรรมชาติโดยการให้น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวตัวเดียวกันกับที่พืชสังเคราะห์แสงได้ ป้อนให้กับมันสำปะหลังด้วยก็จะช่วยให้มีการลงหัวที่ดีขึ้นและสุดยอดขึ้น ดังนั้นการใช้ "ซูการ์-ไฮเวย์"(ZUKAR-Highway) ร่วม ด้วยจึงมีความจำเป็น นี่คือ..คำตอบ ในการพัฒนาผลผลิตมันสำปะหลังในยุคใหม่แห่งโลกอนาคตทางการเกษตร
.
ปลูกมันสำปะหลัง คราใด ให้มั่นใจในกระบวนการ "Tuberization" ด้วย "ซาร์คอน", ไบโอเจ็ท, "แอคซอน" และ "ซูการ์-ไฮเวย์"
"หัวดก หัวใหญ่ น้ำหนักดี มีเปอร์เซนต์แป้งสูง"
.
"ออร์กาเนลไลฟ์" : เราดูแลทุกระบบการทำงานภายในของพืชอย่างผู้รู้ใจพืช
.
คลิ๊กที่ลิงค์นี้ เพื่อสอบถามและขอคำแนะนำเพิ่มเติมได้นะครับ
.
https://lin.ee/nTqrAvO
📲inbox สอบถามปรึกษาก่อนได้
☎️:084 - 8809595 , 084-3696633
📲Line id :@organellelife.com
.
http://paccapon.blogspot.com/2016/05/sarcon.html ทำไม? ต้อง "ซาร์คอน"
.
http://paccapon.blogspot.com/2016/05/axzon.html ทำไม? ต้อง "แอคซอน"
......................
รายงานข่าว
จากสำนักข่าว ORG-News
.
โฉมหน้า "แอคซอน" :
สารเพื่อกระบวนการ "Tuberization"
.
แอคซอน :
ยาสามัญประจำบ้าน
สำหรับ..ผู้ปลูกมันสำปะหลัง ยุคใหม่
ผลิตมา "กี่รอบ กี่รอบ" ก็หมดเกลี้ยง
เดือนหนึ่ง..ไม่ว่าจะผลิตออกมา "กี่พันชุด" ก็ไม่พอ
ยิ่งช่วงนี้..ที่ราคามันตกต่ำ
เกษตรกรหลายท่าน ก็แสวงหาทางออกกัน
เลยอยากได้ผลผลิตมันต่อไร่สูงๆ เอาไว้ก่อน
เพื่อผ่อนหนักให้เป็นเบา ไม่ให้เข้าเนื้อ
กับปัญหาราคาผลผลิตที่ตกต่ำนั่นเอง
และ..เดี๋ยวนี้
ต้องเปลี่ยนความคิดใหม่
ปลูกมันสำปะหลังกันทั้งที
เกษตรกรคนใด ก็ไม่อยากมีความผิดพลาด
เพราะ..มันจะเสียทั้งโอกาสและเสียเวลา
คนใดก็อยากให้มันของตัวเอง "หัวดก หัวใหญ่"
จึงต้องศึกษาหา "ตัวช่วย" ที่ "ใช่" กันต่อไป
"หัวดก" อย่างเดียว แต่.."ไม่ใหญ่" ก็ไม่เอา
"หัวใหญ่" อย่างเดียว แต่.."ไม่ดก" ก็ไม่เอา
แต่..จะเอาทั้ง "หัวดก หัวใหญ่"
ก็คงต้องตามใจเขา แล้วหล่ะ..!!
เราก็เอาไปกับเขาด้วยนะซิ..!!
"ได้หมด ถ้าสดชื่น"
_______________________________________________
ภาคผนวก:
.มันอายุ 10 เดือน ได้ผลผลิตเฉลี่ย 9 ตัน / ไร่
ปกติแถวบ้านทำได้แค่ 4 - 5 ตันเท่านั้น
ปีนี้ไม่พลาดที่จะต้องใช้อีก เพราะมั่นใจแล้ว #หัวดก #หัวใหญ่ จริง
Cr.ขอบคุณรีวิวจากลูกค้า คุณพีระยุทธ อ.บ้านด่าน จ.บุรีรัมย์
#แช่ท่อนพันธุ์ #ฉีดบำรุง #สั่งลงหัว
====
084-880-9595, 084-369-6633
.
สนใจทักแชทได้เลยครับ
📲Line ไอดี @organellelife.com (พิมพ์ @ด้วยนะครับ)
หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อน เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ
https://lin.ee/nTqrAvO
ทางออกที่เกษตรกรพอจะช่วยตัวเองได้
โดยไม่ต้องไปหวังพึ่งหน่วยงานใด
ในสภาวะที่ "ราคาผลผลิตตกต่ำ"
ก็คือ..การทำ "ผลผลิตต่อไร่" ให้สูงเข้าไว้
เพื่อให้ภาระผ่อนหนักเป็นเบา ไปได้บ้างนั่นเอง
มันสำปะหลัง คุณประมุม อ.คำม่วง จ.กาฬสินธุ์ ชุดสั่งลงหัว #แอคซอน #ซุก้า หัวขยายใหญ่ขึ้นอย่างรวดเร็
หลายคนสงสัย
ว่า..ทำไม? มันสำปะหลังถึง "บ้าหัว"
#หัวดกหัวใหญ่ จัง !!
สำหรับ..มันสำปะหลัง
ทำอย่างไร? ให้ "หัวดก หัวใหญ่"
ที่นี่..เรามีคำตอบให้
กระบวนการ Root Revitalization (สร้างระบบราก)
หลายท่านถามว่า..ทำไม?
ต้องแช่ "ซาร์คอน"
เหตุผล..ที่ต้องแช่ "ซาร์คอน"
เพราะ..ก็เหมือนกันกับการมีลูก
ซึ่งตัองดูแลตั้งแต่..การ "ตั้งครรภ์"
ต้องป้องกันโรคต่างๆ พร้อมให้สารจำเป็นที่มีประโยชน์ต่อการเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง และการเจริญเติบโตที่ดีต่อไป
"ซาร์คอน"(SARCON) กรดอินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อกระบวนการ "Revitalize" เซลล์รากและการแช่ "ซาร์คอน" ส่วนหนึ่งก็เพื่อให้ได้
"รากดก รากเยอะและสมบูรณ์ แข็งแรง" พร้อมที่จะเป็นราก "Tuberous root" (รากสะสมอาหาร) ให้ได้ปริมาณที่มากพอ
และนี่..เพียงแค่หนึ่งในหลายๆคุณประโยชน์ของกรดอินทรีย์ที่มีอยู่ใน "ซาร์คอน" หลายๆชนิด ที่ทำหน้าที่ได้มากมายในระดับเซลล์ของพืช และยังมีอีกที่รวมหน้าที่อื่นๆที่สำคัญ อาทิ
.
1) Revitalize ระบบเซลล์ราก (รากมาก รากเยอะ รากแข็งแรง) และเป็นรากสะสมอาหารเป็นส่วนใหญ่
.
2) Systemic Acquired Resistances (SAR) กระบวนการภูมิคุ้มกันโรคเสมือนได้รับ "วัคซีน" (โรคใบไหม้ ใบหงิก โรครากเน่า โรคหัวเน่า โรคเหี่ยวเฉา บรรเทาและเบาบาง ลงไป)
.
3) Drought Tolerance ต้านทานความแห้งแล้ง ความร้อน ทนทานต่อการเหี่ยว การขาดแคลนน้ำ
.
4) Agglomeration กระบวนการสร้างผลึกแข็ง( Colliods Aggregrate) ของ Orthosilisic acid เพื่อไปสะสมที่ผนังเซลล์(Cell Wall) ทำให้ผนังแข็งแกร่งดุจคอนกรีต ป้องกันเพลี้ยต่างๆ มาเจาะดูดน้ำเลี้ยงและปล่อยเชื้อไวรัสไว้
.
5) ให้พืชได้รับธาตุอาหารเสริมประโยชน์ Silicon ( Si ) (จากคุณสมบัติของOrthosilicic acid)
.
6) ช่วยกระตุ้นให้ต้นมันสำปะหลังเจริญเติบโตได้ดีเสมือนพืชได้รับ Phytohormone (จากคุณสมบัติของ Monohydroxy benzoic acid)
.
.
กระบวนการ Tuberization (ลงหัว)
ช่วงอายุประมาณ 60-90 วัน จะเป็นช่วงอายุ Growth Stage ของมันสำปะหลังที่จะเปลี่ยนการเจริญเติบโตมาเป็นการ "ลงหัว" (Tuberize) เพื่อสะสมอาหารที่หัว มันจะมีการสังเคราะห์ฮอร์โมนตัวหนึ่งขึ้นมาควบคุมกระบวนการลงหัว (Tuberization) ซึ่งฮอร์โมนตัวนี้มันสำปะหลังสังเคราะห์ขึ้นได้เองตามธรรมชาติซึ่งต้องอาศัยความสัมพันธ์ของปริมาณแสงและอุณหภูมิที่เหมาะสม แต่ถ้าความสัมพันธ์ของแสงและอุณหภูมิ ไม่สัมพันธ์กัน มากไปหรือน้อยไป มันก็ไม่เพียงพอต่อการสร้างฮอร์โมนตัวนี้ การลงหัวก็จะสะดุดและลงหัวได้ไม่ค่อยดี หรือไม่มีการลงหัว มัวแต่หลงทาง และงามแต่ต้นงามแต่ใบ ไม่มีหัวหรือมีหัวจำนวนน้อย ถ้าฮอร์โมนตัวนี้เพียงพอการลงหัวก็จะดี ทุกอย่างเป็นกระบวนการทางชีวเคมี(Biochemistry) ซึ่งเป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่พิสูจน์ได้ ถึงกลไกต่างๆ ถ้าเราเลียนแบบธรรมชาติโดยการสร้างสารบางอย่างหรือฮอร์โมนบางอย่างที่มันพร่องหรือมันขาดแคลนและนำสารหรือฮอร์โมนนั้นๆมาทดแทนในส่วนที่ขาดแคลนนี้ให้แก่พืชได้ พืชย่อมดีใจและสามารถทำหน้าที่ในกระบวนการต่างๆต่อไปได้อย่างสมบูรณ์
ในธรรมชาติ Photoperiod หรือระยะเวลาที่พืชได้รับแสงต่อวันและอุณหภูมิจะมีผลต่อการลงหัวของพืชตระกูลที่มีการลงหัว เมื่อช่วงเวลารับแสงเหมาะสม และอุณหภูมิที่ลดต่ำลงพืชจะสังเคราะห์ Jasmonic acid (JA) ที่ใบและหลังจากนั้นก็จะถูกเคลื่อนย้ายไปยังลำต้นที่ทอดเป็นแนวราบไปตามดิน (Stolon) หรือราก (Root) จนทำให้เกิดหัวเป็นแนวรัศมี (Radial Growth) เป็นจำนวนมาก
.
"การลงหัว" เกิดจากการเปลี่ยนแปลงระดับเซลล์ ที่เซลล์เนื้อเยื้อเจริญ (Subapical meristem cell) ที่อยู่บริเวณปลายรากและปลายยอดของพืช หลังจากได้รับ Jasmonic acid (JA) ในปริมาณที่เหมาะสม ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่โครงสร้างเซลล์ดังนี้
.
1. Cell Enlargement (การขยายตัวของเซลล์) : เซลล์จะมีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อรองรับการสะสมแป้งและโปรตีน
.
2. Cell Division (การแบ่งตัวของเซลล์) : เซลล์เริ่มแบ่งตัวในแนวขวาง (Lateral) และหยุดแบ่งตัวในแนวยาว (Elongation) ทำให้เกิดลักษณะบวมขึ้นเป็น หัว
.
3. Cell Differentiation (การเปลี่ยนสภาพและหน้าที่) : ทำให้เกิดการเปลี่ยน Stolon หรือ Root ไปทำหน้าที่ให้เหมาะสม สะสมอาหารและเซลล์ท่อลำเลียง (Vehicle tube Cell) ก็เปลี่ยนสภาพเพื่อทำให้การลำเลียงอาหารมาสะสมที่หัว อย่างมีประสิทธิภาพ,สะดวกและง่ายขึ้น อาหารถูกสะสมได้มากขึ้นที่หัว การสังเคราะห์แสงเพื่อให้ได้ปริมาณระดับน้ำตาลที่สูงจะช่วยให้การลงหัวดีและมีขนาดใหญ่ขึ้น
เมื่อได้รับ AXZON (Jasmonic acid , Glutamic acid and Organic acid compound) จะช่วยให้เซลล์บริเวณ Storage Root มีขนาดใหญ่และมีจำนวนมากขึ้นทำให้พร้อมสะสมแป้งและโปรตีนมากขึ้น อีกทั้งการเคลื่อนย้ายโปรตีนและแป้งทำให้ง่ายขึ้น หัวเลยใหญ่ขึ้นอย่างรวดเร็ว
.
ปลูกมันสำปะหลัง คราใด ให้มั่นใจในกระบวนการ "Tuberization" ด้วย "ซาร์คอน", ไบโอเจ็ท, "แอคซอน" และ "ซูการ์-ไฮเวย์"
"หัวดก หัวใหญ่ น้ำหนักดี มีเปอร์เซนต์แป้งสูง"
.
"ออร์กาเนลไลฟ์" : เราดูแลทุกระบบการทำงานภายในของพืชอย่างผู้รู้ใจพืช
.
คลิ๊กที่ลิงค์นี้ เพื่อสอบถามและขอคำแนะนำเพิ่มเติมได้นะครับ
https://lin.ee/nTqrAvO
.
http://paccapon.blogspot.com/2016/05/sarcon.html ทำไม? ต้อง "ซาร์คอน"
.
http://paccapon.blogspot.com/2016/05/axzon.html ทำไม? ต้อง "แอคซอน"
สอบถามเพิ่มเติม
📞084-8809595, 084-3696633
📱Line ID : @organellelife.com (อย่าลืมพิมพ์ @ ด้วยครับ)
หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อนใน Line@ เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ
https://lin.ee/nTqrAvO
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น