วันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2558

ผลงานบางส่วนของสมาชิกออร์กาเนลไลฟ์ ที่ใช้ผลิตภัณฑ์กับมันสำปะหลัง

ผลงานบางส่วน ของออร์กาเนลไลฟ์ที่ประมวลภาพไว้ เพื่อใช้ประโยชน์ในการเป็นศึกษาหาแนวทางพัฒนาผลผลิตมันสำปะหลังไทยให้ก้าวไปข้างหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง  สมาชิก ที่อำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร เปิดใจยอมรับการพัฒนาการปลูกมันสำปะหลังอย่างมีวิทยาการและพัฒนามาสู่การเพิ่มรายได้


พื้นที่มันสำปะหลัง พืชนี้มีพื้นที่มากกว่า 8 ล้านไร่(ในปี 2558) "สินค้า" และ "องค์ความรู้" ควบคู่ "ประสบการณ์" ที่ "ใช่" เท่านั้นคือ...คำตอบ ที่ยั่งยืน



ขวัญใจ ชาวไร่มันสำปะหลัง ยุคใหม่ โดย บริษัทออร์กาเนลไลฟ์ (www.organellelife.com)
 ในภาพ: มันสำปะหลังอายุ 6 เดือน




มันสำปะหลังในกระบวนการของ "ORG-Model" โดยออร์กาเนลไลฟ์ (อายุ 8 เดือน กำลังรอถอน น้ำหนักนำมาชั่งได้ต้นละเฉลี่ยประมาณ 15 กก.ของคุณบัวทอง คำจูมจัง บ้านหนองหิ้ง อำเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ )


18 พฤศจิกายน 2556 เยี่ยมชมแปลงมันสำปะหลัง อายุ 6 เดือนกว่า (ปลูก 10 พค56) ของพ่อบุญรอด พะโส อำเภอบ้านม่วง สกลนคร เพื่อพิสูจน์การทำงานของ"ซาร์คอน"(SARCON) ,ไบโอ-เจ็ท(BIO-JET) และ"แอคซอน"(AXZON) ในภาพยังไม่ได้ฉีดพ่น"เพาเวอร์-ไฟว์(PATHWAY#Power5) เพื่อสั่งลงแป้ง ให้หัวใหญ่ หัวหนัก เปอร์เซนต์แป้งเยอะ


ทดลองขุดมัน 6 เดือน ที่ยังไม่ได้ผ่านกระบวนการ "สั่งลงแป้ง"(Starch Synthesis) และเป็นมันที่ปลูกในดินลูกรัง โครงสร้างดินแย่มาก แต่ผ่านกระบวนการ"สั่งลงราก"(Root Revitalization) รากดก รากเยอะ และผ่านกระวนการ "สั่งลงหัว"( Tuberization) แล้ว "รากดก หัวดก เพราะเปลี่ยนรากเป็นหัวได้หมดจด" รากทุกราก ต้องเป็นหัว อย่ามัวหลงทาง ยืนยัน..ฟันธง!!

ใช้ผลิตภัณฑ์ของออร์กาเนลไลฟ์ กับมันสำปะหลัง ของเขา "สุดยอด" จริงๆครับ (มันอำเภอบ้านด่าน บุรีรัมย์ ของคุณกนกเพชร ดวงนาค ศูนย์ODSC อำเภอบ้านด่าน)
พันธุ์ก็มีส่วนครับ แต่ไม่อยากให้ไปซีเรียสจนต้องกังวลและทุ่มทุนเรื่องพันธุ์ เสมือนคนไทยก็ฉลาดและโตใหญ่ได้ถ้าดูแลดี โภชนาการดี ไม่จำเป็นต้องเป็นฝรั่งตาน้ำข้าวหรอกที่โตใหญ่ ฝรั่งแคระ ตัวเล็ก ขี้โรคก็มีเยอะครับ เราเน้นดูแลกระบวนการทำงานทางชีวเคมี(Biochemistry)ภายในต้นพืชเป็นหลักครับ
รายละเอียดศึกษาได้ที่www.organellelife.com ครับ


มี 3 กระบวนการที่สำคัญและเราเน้นมากสำหรับมันสำปะหลัง นั่นคือ
(1) กระบวนการสั่งลงราก ด้วยกระบวนการ"Revitalization of Root Cell" 
(2) กระบวนการสั่งลงหัว ด้วยกระบวนการ"Tuberization" 
(3) กระบวนการสั่งลงแป้ง ด้วยกระบวนการ" Starch Synthesis " 

ทั้ง 3 กระบวนการ จะมีสารสำคัญทางชีวเคมีที่พืชสร้างขึ้นมาควบคุมตามธรรมชาติ แต่อาจไม่สมบูรณ์เราจึงสร้างสารเลียนแบบตามธรรมชาติของพืชขึ้นมาควบคุมแทน นี่คือหัวใจสำคัญในภาวะปัจจุบันที่โลกวิปริตจาก"ภาวะวิกฤติโลกร้อน"(Global Warming) ที่รุนแรงและเสียหายมากต่อสภาวะแวดล้อมทางดินฟ้าอากาศต่อพืชนะครับ

กระบวนการสั่งลงราก"Root Revitalization"


กระบวนการสั่งลงหัว "Tuberization" เปลี่ยนรากให้เป็นหัว โดยการบังคับการเจริญเติบโตให้เปลี่ยนจากทางด้านElongation Growth มาเป็นการเจริญทางด้านLateral Growthเพื่อสะสมแป้งที่รากให้เป็นหัวมัน รากทุกรากต้องเป็นหัว ด้วยฮอร์โมนที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อเลียนแบบในกระบวนการชีวเคมี (Biochemistry)



กระบวนการสั่งแป้ง"Starch Synthesis" ด้วยสารตั้งต้น(Precursor) ที่มีชื่อว่า "Malate" และ"Glutamate" เพื่อเพิ่มเปอร์เซนต์แป้งให้สูงขึ้น


กระบวนการ "สั่งลงหัว"(Tuberization) ต้องมั่นใจได้ว่า"ถึงเวลาลงหัว ก็ต้องลงหัว อย่ามัวหลงทาง" รากทุกราก ต้องเป็นหัว ให้ได้หมดสิ้น ไม่ยกเว้นแม้จะเป็น รากกิ่ง รากติ่ง รากแขนง


ที่เห็นทั้งหัวดกและหัวใหญ่ เพราะการดูแลองค์ประกอบครบถ้วนครับกับกระบวนการทำงานของต้นมันสำปะหลังอย่างถูกต้องถูกวิธี ไม่มีสะดุด ตั้งแต่การสั่งลงราก(Root Revitalization) กระบวนการสั่งลงหัว (Tuberization) กระบวนการสั่งลงแป้ง(Starch Synthesis) ทั้งๆที่การเตรียมดินอาจจะไม่ครบถ้วน ระบบน้ำก็ไม่มีอาศัยเทวดา พันธุ์ก็ใช้พันธุ์ธรรมดาพื้นๆทั่วไป ครับ ใช้พันธุ์ ระยอง 9 เท่านั้นเอง และมีพันธุ์อื่นปะปนบ้างเล็กน้อย



ต้นแบบนี้หัวละประมาณ 21 กิโลกรัม(มันบึงกาฬ ปลูกในแปลงยางปลูกใหม่)
ใช้แอคซอน ตัวเดียวก็จะได้ผล เรื่องสั่งลงหัว(Tuberization) เรื่องเดียวเท่านั้นแต่ได้ 100% ครับอาทิ ปลูกแล้วมีรากดีมาก รากเยอะ แต่ไม่ค่อยจะเป็นหัวทั้งหมด แต่ถ้าใช้แอคซอนสั่ง การลงหัวก็จะเต็มที่ไม่มีพลาด เพราะกระบวนการทำงานในต้นมัน มันจะถูกบังคับให้ทำหน้าที่ลงหัวเมื่อฮอร์โมนที่เป็นกรดอินทรีย์ตัวหนึ่งมันมีปริมาณมากพอที่จะทำงานตามกลไกของกระบวนการ "Tuberization" แต่แค่ใช้ "แอคซอน" เพียงอย่างเดียวผลลัพธ์ก็เกินคาดแล้วครับเมื่อเทียบกับไม่ใช้ การันตีจากคนที่ใช้แอคซอนเพียงอย่างเดียว ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นเท่าตัวเกือบทุกราย อาทิเคยได้ไร่ละ 3 ตัน ก็จะเป็น 6-7 ตัน/ไร่ (โดยเฉลี่ย) ที่เพิ่มมากกว่านั้นก็มีอาทิ เคยปลูก 10 ไร่ได้ 11 ตัน ทุกปี ทุกปี @ได้ไร่ละ1.1 ตัน แต่พอมาใช้ "แอคซอน" กลับได้มา 50 ตัน(ไร่ละ5 ตัน)เพิ่มขึ้นมาถึง 5 เท่าตัว (เคสนี้อยู่ที่อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย) ผลลัพธ์ที่กล่าวมาทั้งหมด การเปรียบเทียบระหว่างใช้กับไม่ใช้ ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ทุกอย่างต้องเหมือนเดิมคือ การปฏิบัติแบบเดิมๆ พื้นที่เดิม พันธุ์เดิม ปุ๋ย&ยาเหมือนเดิม จะแตกต่างกันก็เพียง "ใช้ กับ ไม่ใช้" แอคซอน เท่านั้นครับ

หน้าที่ของแอคซอน AXZON
ทำให้พืชเปลี่ยนการเจริญเติบโตทางด้านยาว (Elongation growth) มาเป็นการเจริญเติบโตทางด้านกว้าง (Lateral growth) แทน โดย AXZON จะทำให้ระดับน้ำตาลในเซลล์สูงขึ้นทำให้เกิดการแบ่งเซลล์ในแนวรัศมีของลำต้นมากขึ้นเซลล์ขยายตัวมีขนาดใหญ่ขึ้น ทำให้มีพื้นที่พร้อมที่จะสะสมแป้งและโปรตีนมากขึ้น




กระบวนการสั่งลงราก(Root Revitalization) ก็มีความสำคัญ "รากคือหัว หัวคือราก" และต้องเป็นราก"สะสมอาหาร"(Storage Root) ไม่ใช่ราก"หาอาหาร" (Fibrous root)เพื่อรอการสั่ง "เก็บอาหาร" จนเป็นหัวมัน


มันทีมงานอำเภอบ้านม่วง สกลนคร ขอโชว์บ้าง ปลูกที่ไหน ที่ไหน ก็ได้ผลลัพธ์ เหมือนๆกัน เพราะมันมาจากกระบวนการทำงานของพืชแบบเดียวกัน จากสินค้าออร์กาเนลไลฟ์(มันปลูกแซมในสวนยางพารา)






ก็ดูเอาเองนะครับ ปลูกเล่นๆแค่อยากลองดู ปลูกแค่ไม่ถึง 1 ไร่ ยังได้ 7 ตันกว่าๆ ทั้งๆที่ทำไม่ครบกระบวนการ เพียงแค่ฉีด"แอคซอน"(ยาสั่ง) สั่งให้ลงหัว(Tuberization) แค่เพียงครั้งเดียวเท่านั้น มันเลย "หัวใหญ่ หัวหนัก แป้งเยอะ" อายุเพียงแค่ 10 เดือนก็ถอนแล้วยังได้ขนาดนี้ ถ้าเก็บไว้เป็นปี ไม่หัวใหญ่ หัวหนัก มากกว่านี้เหรอ และถ้าทำครบกระบวนการของออร์กาเนลไลฟ์จะไม่ยิ่งไปกันใหญ่เหรอ10 ตันต่อไร่ไม่ใช่เรื่องยาก..และ..20 ตันต่อไร่ก็ไม่ไกลเกินฝัน แบบจับต้องได้  ด้วยหลักการทำงานของกระบวนการทำงานทางชีวเคมี(Biochemistry) ของพืชที่สมบูรณ์


มันลุงถวิลอยู่อำเภอนาแกจังหวัดนครพนมไม่ถึง1ไร่ปลูกได้สิบเดือนฉีดพ่นแค่เอคซอนเกือบ7ตัน



มันจากอำเภอบ้านด่าน บุรีรัมย์ โดยศูนย์ODSCคุณทับทิม ดวงนาค "ปลูกที่ไหน ที่ไหน ก็ได้ผลลัพธ์เหมือนกัน เพราะมันใช้กระบวนการทำงานของสินค้าตัวเดียวกัน"


ทีมกาฬสินธุ์ยืนยันว่าของทีมเขาทำจริงกับมือ ข้อมูลจริงทุกอย่างและกำลังพัฒนาสู่เป้าหมายจริงที่ตั้งไว้10-20ตัน/ไร่ ถึงไม่ได้ก็ขอให้ได้ใกล้เคียงก็พอใจแล้ว "คุณ..ได้ตามนั้น" ตามที่ขอมา



กระบวนการ "TUBERIZATION"
เป็นกระบวนการที่เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับเซลล์เนื้อเยื่อเจริญ (Meristem cell) ที่อยู่บริเวณปลายรากของมันสำปะหลังเมื่อมันได้รับสารบางตัวใน "แอคซอน" (AXZON) ซึ่งเป็นเสมือนฮอร์โมนที่จำเป็นที่ทำให้เซลล์ดังกล่าวก็จะขยายตัว (Cell Enlargement) เพื่อรองรับการสะสมแป้งและโปรตีนอีกทั้งเซลล์ก็ยังจะแบ่งตัว (Cell Division) ในแนวขวาง (Lateral Growth) และหยุดการแบ่งตัวในแนวยาว (Elongation Growth)เพื่อให้เกิดการขยายเซลล์รากให้บวมขึ้นเป็นหัว (Tuber) และเปลี่ยนหน้าที่เซลล์ (Cell Differentiate) เพื่อทำให้ Stolon หรือ Root เปลี่ยนมาทำหน้าที่สะสมอาหารแทน
การลงหัว (Tuberization) จะดีขึ้นและหัวมีขนาดใหญ่ขึ้นยังขึ้นอยู่กับระดับน้ำตาลในต้นมันสำปะหลังด้วย ดังนั้นการสังเคราะห์แสง(Photosynthesis) ที่ดีและสมบูรณ์จะช่วยให้การลงหัวดีและสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น  ดังนั้นการที่เราอาจจะเลียนแบบธรรมชาติโดยการไม่ต้องพึ่งพาการสังเคราะห์แสงแต่เพียงอย่างเดียว แต่มีการเลียนแบบธรรมชาติโดยการให้น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวตัวเดียวกันกับที่พืชสังเคราะห์แสงได้ป้อนให้กับมันสำปะหลังด้วยก็จะช่วยให้มีการลงหัวที่ดีขึ้นและสุดยอดขึ้น ดังนั้นการใช้ "ซูการ์-ไฮเวย์"(ZUKAR-Highway) ร่วม ด้วยจึงมีความจำเป็น

นี่คือ..คำตอบ ในการพัฒนาผลผลิตพืชลงหัวในยุคใหม่แห่งโลกอนาคตทางการเกษตร


“Photoperiod”
ในธรรมชาติ “Photoperiod”: หรือระยะเวลาที่พืชได้รับแสงต่อวันและอุณหภูมิจะมีผลต่อการลงหัวของพืชตระกูลที่มีการลงหัว  เมื่อช่วงเวลารับแสงเหมาะสม และอุณหภูมิที่ลดต่ำลงพืชจะสังเคราะห์ “Jasmonic acid” (JA) ที่ใบและหลังจากนั้นก็จะถูกเคลื่อนย้ายไปยังลำต้นที่ทอดเป็นแนวราบไปตามดิน (Stolon) หรือราก (Root) จนทำให้เกิดหัวเป็นแนวรัศมี (Radial Growth) เป็นจำนวนมาก
“การลงหัว” : เกิดจากการเปลี่ยนแปลงระดับเซลล์ที่เซลล์เนื้อเยื่อเจริญ (Subapical meristem cell) ที่อยู่บริเวณปลายรากและปลายยอดของพืช
หลังจากได้รับ JA  ในปริมาณที่เหมาะสม  ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่โครงสร้างเซลล์ดังนี้
1. Cell Enlargement (การขยายตัวของเซลล์)
: เซลล์จะมีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อรองรับการสะสมแป้งและโปรตีน

2. Cell Division (การแบ่งตัวของเซลล์)
: เซลล์เริ่มแบ่งตัวในแนวขวาง (Lateral) และหยุดแบ่งตัวในแนวยาว (Elongation) ทำให้เกิดลักษณะบวมขึ้นเป็น “หัว”

3. Cell Differentiation (การเปลี่ยนสภาพและหน้าที่)
: ทำให้เกิดการเปลี่ยน Stolon หรือ Root ไปทำหน้าที่ให้เหมาะสม สะสมอาหารและเซลล์ท่อลำเลียง (Vehicle tube Cell) ก็เปลี่ยนสภาพเพื่อทำให้การลำเลียงอาหารมาสะสมที่หัวอย่างมีประสิทธิภาพ,สะดวกและง่ายขึ้น อาหารถูกสะสมได้มากขึ้นที่หัวการสังเคราะห์แสงเพื่อให้ได้ปริมาณระดับน้ำตาลที่สูงจะช่วยให้การลงหัวดีและมีขนาดใหญ่ขึ้น

"แอคซอน"..สารสำคัญในกระบวนการTuberization..(ลงหัว)
"ดก"..ได้ด้วยกระบวนการทำงานของพืช อย่างแท้จริง
"ดก"..ได้ด้วยกระบวนการสำคัญ"Tuberization"(กระบวนการลงหัว)



สายด่วน..พืช"ลงหัว"(Tuberization): 084-880-9595
Line ID: organellelife



กระบวนการ Tuberization (ลงหัว)

วันนี้..คุณปลูก หอม กระเทียม เผือก มันเทศ มันฝรั่ง มันสำปะหลัง
พืชตระกูลมัน  คุณทำประกัน "ลงหัว" หรือยัง?
"แอคซอน"..สารสำคัญในกระบวนการTuberization..(ลงหัว)
"ดก"..ได้ด้วยกระบวนการทำงานของพืช อย่างแท้จริง
"ดก"..ได้ด้วยกระบวนการสำคัญ"Tuberization"(กระบวนการลงหัว)





กระบวนการ "TUBERIZATION"
เป็นกระบวนการที่เกิดการเปลี่ยนแปลงระดับเซลล์เนื้อเยื่อเจริญ (Meristem cell) ที่อยู่บริเวณปลายรากของมันสำปะหลังเมื่อมันได้รับสารบางตัวใน "แอคซอน" (AXZON) ซึ่งเป็นเสมือนฮอร์โมนที่จำเป็นที่ทำให้เซลล์ดังกล่าวก็จะขยายตัว (Cell Enlargement) เพื่อรองรับการสะสมแป้งและโปรตีนอีกทั้งเซลล์ก็ยังจะแบ่งตัว (Cell Division) ในแนวขวาง (Lateral Growth) และหยุดการแบ่งตัวในแนวยาว (Elongation Growth)เพื่อให้เกิดการขยายเซลล์รากให้บวมขึ้นเป็นหัว (Tuber) และเปลี่ยนหน้าที่เซลล์ (Cell Differentiate) เพื่อทำให้ Stolon หรือ Root เปลี่ยนมาทำหน้าที่สะสมอาหารแทน
การลงหัว (Tuberization) จะดีขึ้นและหัวมีขนาดใหญ่ขึ้นยังขึ้นอยู่กับระดับน้ำตาลในต้นมันสำปะหลังด้วย ดังนั้นการสังเคราะห์แสง(Photosynthesis) ที่ดีและสมบูรณ์จะช่วยให้การลงหัวดีและสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น  ดังนั้นการที่เราอาจจะเลียนแบบธรรมชาติโดยการไม่ต้องพึ่งพาการสังเคราะห์แสงแต่เพียงอย่างเดียว แต่มีการเลียนแบบธรรมชาติโดยการให้น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวตัวเดียวกันกับที่พืชสังเคราะห์แสงได้ป้อนให้กับมันสำปะหลังด้วยก็จะช่วยให้มีการลงหัวที่ดีขึ้นและสุดยอดขึ้น ดังนั้นการใช้ "ซูการ์-ไฮเวย์"(ZUKAR-Highway) ร่วม ด้วยจึงมีความจำเป็น
นี่คือ..คำตอบ ในการพัฒนาผลผลิตพืชลงหัวในยุคใหม่แห่งโลกอนาคตทางการเกษตร

“Photoperiod”
ในธรรมชาติ “Photoperiod”: หรือระยะเวลาที่พืชได้รับแสงต่อวันและอุณหภูมิจะมีผลต่อการลงหัวของพืชตระกูลที่มีการลงหัว  เมื่อช่วงเวลารับแสงเหมาะสม และอุณหภูมิที่ลดต่ำลงพืชจะสังเคราะห์ “Jasmonic acid” (JA) ที่ใบและหลังจากนั้นก็จะถูกเคลื่อนย้ายไปยังลำต้นที่ทอดเป็นแนวราบไปตามดิน (Stolon) หรือราก (Root) จนทำให้เกิดหัวเป็นแนวรัศมี
(Radial Growth) เป็นจำนวนมาก


“การลงหัว” : เกิดจากการเปลี่ยนแปลงระดับเซลล์ที่เซลล์เนื้อเยื่อเจริญ (Subapical meristem cell) ที่อยู่บริเวณปลายรากและปลายยอดของพืช
หลังจากได้รับ JA  ในปริมาณที่เหมาะสม  ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่โครงสร้างเซลล์ดังนี้
1. Cell Enlargement (การขยายตัวของเซลล์)
: เซลล์จะมีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อรองรับการสะสมแป้งและโปรตีน
2. Cell Division (การแบ่งตัวของเซลล์)
: เซลล์เริ่มแบ่งตัวในแนวขวาง (Lateral) และหยุดแบ่งตัวในแนวยาว (Elongation) ทำให้เกิดลักษณะบวมขึ้นเป็น “หัว”
3. Cell Differentiation (การเปลี่ยนสภาพและหน้าที่)
: ทำให้เกิดการเปลี่ยน Stolon หรือ Root ไปทำหน้าที่ให้เหมาะสม สะสมอาหารและเซลล์ท่อลำเลียง (Vehicle tube Cell) ก็เปลี่ยนสภาพเพื่อทำให้การลำเลียงอาหารมาสะสมที่หัวอย่างมีประสิทธิภาพ,สะดวกและง่ายขึ้น อาหารถูกสะสมได้มากขึ้นที่หัวการสังเคราะห์แสงเพื่อให้ได้ปริมาณระดับน้ำตาลที่สูงจะช่วยให้การลงหัวดีและมีขนาดใหญ่ขึ้น







ในภาวะดินฟ้าอากาศของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป
จนเกิด"ภาวะวิกฤติโลก" (Global Warming)..
สำหรับสิ่งมีชีวิตทั้งคนและพืช
กระบวนการทำงานต่างๆภายในของพืช ก็เกิด"วิปริต"ตามมา กลไกทำงานได้ไม่สมบูรณ์ กลไกบางอย่างเกิดการสะดุดหรือบกพร่อง ต้องหาทางช่วยเหลือ เพราะขืนปล่อยไปมันจะเป็นสาเหตุทำให้ผลผลิตของพืชไม่สมบูรณ์และตกต่ำตามมา ไม่ว่าจะน้ำหนักหรือคุณภาพ เพราะว่าหน้าที่ของเซลล์บางอย่างของพืชทำงานผิดปกติไป โดยเฉพาะในพืชมันสำปะหลัง อาทิตั้งแต่...

(1) กระบวนการสร้างเซลล์ระบบ "รากสะสมอาหาร"( Tuberous Root) ผิดปกติ ได้รากสะสมอาหารที่น้อย ไม่สมบูรณ์ โอกาสที่จะมีหัวมันจึงน้อยลงไป

(2) กระบวนการ "ลงหัว" (Tuberization) ไม่สมบูรณ์ การลงหัวไม่ดี มีหัวที่ไม่ได้รูปทรงและ หัวเจริญเติบโตช้า หัวไม่ใหญ่ หัวไม่สม่ำเสมอ เปอร์เซนต์แป้งต่ำ ไม่มีน้ำหนัก
กระบวนการ"ลงหัว" (Tuberization) ที่สมบูรณ์ หัวมันต้องได้รูปทรงดี หัวมีความสม่ำเสมอ ขนาดหัวใกล้เคียงกัน จำนวนหัวมากพอ หัวเจริญเติบโตเร็ว ใหญ่เร็ว หัวใหญ่ได้ขนาดสม่ำเสมอเท่าๆกัน เปอร์เซนต์แป้งดี หัวมันมีน้ำหนักมาก (เห็นการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการ"Tuberization" ตั้งแต่ 4 เดือน เป็นต้นไป) ปัญหาเหล่านี้มีให้พบเห็นจนชินตา แต่ทว่า..ใครจะหาทางออกแบบใดและอย่างไร ก็ขึ้นอยู่ที่ว่าใครจะเข้าใจปัญหาแบบใด และเข้าใจว่าปัญหามันมาจากสาเหตุใด
จึงนับว่า..เรื่องนี้เป็นเรื่องใหญ่ที่ไม่ควรมองข้าม สำหรับเกษตรกรไทย
"ออร์กาเนลไลฟ์"..ใส่ใจในรายละเอียดของการเปลี่ยนแปลงของพืชและของโลก จึงขอศึกษาปัญหาต่างๆบางอย่างเหล่านี้

www.organellelife.com
www.organellelife-vdo.com
www.facebook.com/organellelife.org
Line ID:organellelife










แอคซอน(AXZON) คือ ส่วนหนึ่งที่เป็นหัวใจสำคัญของ Tuberization (กระบวนการมันลงหัว)
"ฉีก..ความเชื่อแบบเก่าๆ" เพื่อเข้าสู่ความเชื่อใหม่ๆใน"องค์ความรู้"ที่กว้างไกลในกระบวนการทำงานทางชีวเคมี (Biochemistry)ของพืช กับกระบวนการ"Tuberization"(ลงหัว) สำหรับพืชมีหัวหลายๆชนิด ซึ่งในภาวะโลกวิกฤต กระบวนการทำงานต่างๆภายในพืชอาจบกพร่องต้องหา"ตัวช่วย"มาทดแทนการสร้างเองที่อาจเกิดบกพร่องขึ้นได้
"แอคซอน"(AXZON): กรดอินทรีย์ที่สำคัญในการทำหน้าที่ในกระบวนการ"ลงหัว"(Tuberization) ของพืช





"แอคซอน"(AXZON) : ไม่ใช่ปุ๋ยน้ำ ไม่ใช่ปุ๋ยเหลว ไม่ใช่ปุ๋ยเทวดา ไม่ใช่ฮอร์โมนนางฟ้า ไม่ใช่สารจากดาวอังคาร หรือสารนาโนใดๆทั้งสิ้น
แต่.."แอคซอน" (AXZON) เป็นกรดอินทรีย์สังเคราะห์(The Synthesis of Organic acid)ที่จำเป็นหลายๆตัวที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานในกระบวนการลงหัว Tuberization กระบวนการทางชีวเคมี (Biochemistry) ภายในเซลล์ของพืช ซึ่งใช้ในการควบคุมการทำงานของกระบวนการ "Tuberization"(ลงหัว)

แอคซอน(AXZON) จึงเป็นส่วนหนึ่งที่เป็นหัวใจสำคัญของ Tuberization (กระบวนการมันลงหัว) จริงๆ ที่พืชลงหัวจะขาดเสียมิได้
โดยส่วนตัวของผมยังยืนยันอยู่ตลอดเวลาว่า สำหรับพืชไม่ว่าจะไปปลูกที่ไหนๆ ปัจจัยอื่นๆอาจจะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม อาทิ สภาพดินฟ้าอากาศ สภาพพื้นที่ สภาพที่ดิน และอื่นๆอาจจะแตกต่างกันไป แต่สิ่งที่ยังเหมือนกันอยู่ไม่ว่าจะปลูกที่ใดนั่นก็คือ"กระบวนการทำงานต่างๆของพืช"ก็ยังคงเป็นกระบวนการเหมือนเดิม เพียงแต่จะทำอย่างไร?ให้กระบวนการต่างๆของพืช ทำงานได้อย่างสมบูรณ์และเป็นปกติ อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุดก็เท่านั้นเองครับ




กระบวนการทำงานและการเจริญเติบโตของมันฝรั่ง (POTATO) 


1.    ระยะเริ่มงอก  (Sprouting initiation and Emergence)
หน่อเริ่มพัฒนาการจากตาของหัวมันและเติบโตโผล่ขึ้นมาจากพื้นดิน  รากเองก็เริ่มงอกออกจากหน่อ (หัวพันธุ์)
ทางดิน  เตรียมดินคลุกดินด้วย “ซอยล์-แอสท์” อัตรา 50-100 กก. และรดด้วย “ซอยล์ไลฟ์” อัตราผสม 10-15 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร   แช่หัวพันธุ์  ด้วย “ซาร์คอน” และ “ออร์ซ่า”  อัตรา  20 ซีซี + 4 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

2.    ระยะเจริญเติบโต  (Leof Dev.)
กิ่ง,ใบและลำต้นกำลังจะเริ่มพัฒนาออกมาจากหน่อใต้ดิน รากและลำต้นใต้ดิน (Stolon) ก็พร้อมเจริญเติบโตจากหน่อใต้ดิน  ฉีดพ่นด้วย  “ไบโอเจ็ท” อัตรา  10 กรัม (1 ซอง ต่อน้ำ 20 ลิตร) ทุกๆ 7-10 วัน  2-3 ครั้ง  และ “ซาร์คอน” กับ “คาร์บ๊อกซิล” อัตรา 20 ซีซี + 20 ซีซี  ต่อน้ำ 20 ลิตรทุกๆ 7-10 วัน จำนวน 3-4 ครั้ง


3.    ระยะลงหัว (Tuberization)
เซลล์เริ่มทำหน้าที่เปลี่ยนจาก Stolon  มาเป็น  Tuber  (Cell Differentiate)  เซลล์จะขยายใหญ่ขึ้น  (Cell Enlarge ment)  เพื่อรองรับแป้งและโปรตีนที่จะมาสะสม และจะเห็นได้ชัดสำหรับระยะนี้ คือ มันฝรั่งจะเริ่มออกดอก  ฉีดพ่นด้วย  “แอคซอน” เพียง 1 ครั้ง  อัตรา  20 ซีซี ต่อน้ำ  20 ลิตร
ระยะสะสมอาหาร  (Tubers Filling)
เซลล์ของหัวมันจะเริ่มสะสม คาร์โบไฮเดรตและหัวมันก็จะเริ่มขยายจนมีขนาดที่ใหญ่ขึ้นจนเห็นเด่นระยะนี้ต้องการ การบำรุงที่ดีเพื่อให้มีผลผลิตที่สูง และคุณภาพที่สูงจนได้  ฉีดพ่นด้วย  “ซูก้าร์-ไฮเวย์”  ผสมกับ “เพาเวอร์-5” อัตรา 20 ซีซี+20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ทุกๆ 10-15 วันครั้ง อย่างน้อย 3-4 ครั้ง

4.    ระยะแก่และเก็บเกี่ยว  (Maturity and Harvesing)
ระยะนี้ใบจะเริ่มเหลืองและใบจะเริ่มสลด พร้อมร่วงหล่น  การสังเคราะห์แสงมีน้อยลง ไม่มีการเจริญเติบโตและต้นก็จะค่อยๆ เริ่มแห้งตายไปในที่สุด  หัวมันก็จะเริ่มสะสมแป้งได้มากที่สุด  พร้อมรอการเก็บเกี่ยวที่สมบูรณ์ต่อไป


หมายเหตุ :
  ควรมีการฉีดพ่น “คาร์บ๊อกซิล-พลัส เอ็กซ์ตร้า”  สลับกับ  “อีเรเซอร์-1”  ทุกระยะ 7-10 วัน
     เพื่อป้องกันโรคร้ายแรงอาทิ  Late Blight, Bacterial Wilt , อื่นๆ  เป็นต้น
  เพื่อป้องกันแมลงพาหะนำเชื้อไวรัส ใบหงิก  ควรมีการฉีดพ่น “ซิกน่า”  ตั้งแต่ระยะหลังปลูก  15  วัน 
    ฉีดพ่นทุก  7-10  วัน  ไปเรื่อยๆ จะเป็นการดีที่สุด

บริษัท ออร์กาเนลไลฟ์ (ประเทศไทย) จำกัด  โทร. 084-8809595   Line ID : organellelife   www.organellelife.com






กระบวนการทำงานและการเจริญเติบโตของหอม

1.    ระยะหอมเล็กเริ่มงอก  (4 ใบ)  (Transplanting 4 th Leaf)
ต้นหอมจะงอกพร้อมๆ กัน  ระบบรากสมบูรณ์ ควรมีการสร้างความแข็งแรงให้หอม  การเตรียมแปลง ไถและหว่าน “ซอยล์แอสท์” อัตราผสม 50-100 กก/ไร่  และราดดินด้วย “ซอยล์ไลฟ์”  อัตราผสม  15-25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร แช่หัวพันธ์  ด้วย  “ซาร์คอน” และ “ออร์ซ่า”  อัตรา 20 ซีซี + 4 ซีซี ต่อน้ำ 20  ลิตร

2.    ระยะเจริญเติบโตต้นเล็ก  (Formation of Leaf 5)
ระยะนี้หอมจะเจริญเติบโตได้ดีและยืดตัวเร็วและสมบูรณ์ ใส่ปุ๋ยทางดิน “ออร์กรีนพลัส สูตร 12-3-3”  ผสมกับ “กรีนอัพ” (ฮอร์โมนและอาหารเสริมพืชชนิดเม็ดฉีดพ่นด้วย “ไบโอเจ็ท” รวมกับ “ซาร์คอน”  อัตรา 10 กรัม + 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตรและฉีดพ่น “คาร์บ๊อกซิล”  ทุกๆ 10 วันเพื่อป้องกันโรคเน่าต่างๆ

3.    ระยะเจริญเติบโตต้นใหญ่  (Formation of Leaf 6 & 7)
เป็นระยะที่หอมจะขยายลำต้น ทำให้หลอดหอมหนาแข็งแรง เขียว สมบูรณ์  ฉีดพ่นด้วย  “ไบโอเจ็ท” และ “คาร์บ๊อกซิล”  อัตรา 10 กรัม + 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

4.    ระยะลงหัว Tuberization (กระบวนการลงหัว) (Initiation of Bulb Formation)
ระยะนี้หอมจะชะลอการเจริญเติบโตและจะเริ่มส่งอาหารมาสะสมที่หัว (Bulb) ฉีดพ่นด้วย  “แอคซอน” เพียง 1 ครั้ง  อัตรา  20 ซีซี ต่อน้ำ  20 ลิตร
5.    ระยะการเจริญเติบโตของหัว (Bulb Thickening)
ช่วงนี้จะมีการขยายขนาดหัวที่ใหญ่ขึ้น  หัวแน่นขึ้น มีน้ำหนักมากขึ้น  ฉีดพ่นด้วย  “ซูการ์-ไฮเวย์”  ผสมกับ “พาวเวอร์-5” อัตรา  20 ซีซี + 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

6.    ระยะหัวสุกแก่  (Formed Bulb to Maturity)
ช่วงนี้จะมีการขยายขนาดหัวที่ใหญ่ขึ้น  หัวแน่นขึ้น มีน้ำหนักมากขึ้น  ฉีดพ่นด้วย  “ซูการ์ -ไฮเวย์”  ผสมกับ “พาวเวอร์-5” อัตรา  20 ซีซี + 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

7.    ระยะเก็บเกี่ยว  (Fallor soft Neck/Harverst)

กรณี :  (1)  ที่มีการระบาดของโรคหมานอน ให้ฉีดพ่นด้วย “อีเรเซอร์ -1”  2-3 ครั้ง  ทุก ๆ 5-7 วัน
          (2)  กรณีต้องการให้หอม กระเทียม แข็งแรงให้ผสม ผงแร่ “บี.เอ็ม.ซี มิกซ์”  อัตรา  25 กรัม ต่อน้ำ  20  ลิตรราดหรือสเปรย์ลงดินให้ทั่วถึง
          (3)  ฉีดพ่นทุกครั้งให้ผสม “ออร์ซ่า” (ORZA) :  สารเสริมประสิทธิภาพและช่วยจับ (Stricker) ตลอดจนช่วยดูดซึมสาร (Systemic) ให้ดียิ่งขึ้น





บริษัท ออร์กาเนลไลฟ์ (ประเทศไทย) จำกัด
โทร. 084-8809595
Line ID : organellelife
www.organellelife.com



แอคซอน
AXZON (แอคซอน) :


“สารสั่งลงหัว” ในพืชตระกูลลงหัวทุกชนิด อาทิ มันสำปะหลัง, มันฝรั่ง, มันเทศ, หอม, กระเทียม, เผือก อื่นๆ ไม่ยอมลงหัว มัวแต่ “หลงงามต้น หลงงามใบ” ต้องให้ “AXZON” ออกคำสั่ง มันฝรั่ง, มันสำปะหลัง, หอม, กระเทียม ถึงจะยอมลงหัว

นวัตกรรมใหม่สำหรับพืชมีหัวด้วยกระบวนการ Tuberization 

AXZON มีส่วนผสมของกรดอินทรีย์และกรดจัสโมนิคที่ส่งเสริมขบวนการลงหัวให้พืช (Tuberization)

AXZON  ทำให้พืชเปลี่ยนการเจริญเติบโตทางด้านยาว (Elongation growth) มาเป็นการเจริญเติบโตทางด้านกว้าง (Lateral growth) แทน โดย AXZON จะทำให้ระดับน้ำตาลในเซลล์สูงขึ้นทำให้เกิดการแบ่งเซลล์ในแนวรัศมีของลำต้นมากขึ้นเซลล์ขยายตัวมีขนาดใหญ่ขึ้น ทำให้มีพื้นที่พร้อมที่จะสะสมแป้งและโปรตีนมากขึ้น

AXZON ประกอบด้วยสารเคมีที่โดยปกติพืชลงหัวต้องสร้างขึ้นตามธรรมชาติในช่วงระหว่างเริ่มลงหัว AXZON จึงสามารถใช้ได้อย่างปลอดภัยไม่มีส่วนผสมของสารเคมีที่อันตรายไม่ตกค้างในผลผลิต

อัตราและวิธีการใช้
ใช้ AXZON 20 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร (1ช้อนแกง ผสม น้ำ 1 ปิ๊ป) ฉีดพ่นที่ใบจนเปียกชุ่มครั้งเดียวช่วงที่พืชกำลังจะเริ่มลงหัว)


คุณประโยชน์
- ช่วยกระตุ้นขบวนการลงหัวของพืช (Tuberization) โดยใช้กรดอินทรีย์เลียนแบบธรรมชาติช่วยเพิ่มจำนวนเซลล์สะสมแป้งและเพิ่มขนาดเซลล์สะสมแป้งทำให้ได้หัวใหญ่ขึ้น มากขึ้น
- ช่วยเพิ่มผลผลิตต่อไร่ ด้วยวิธีง่ายๆและประหยัด โดยการฉีดพ่นทางใบเพียงครั้งเดียว
- ปลอดภัย ไม่มีสารอันตราย ไม่มีสารตกค้าง
- สามารถใช้ได้กับพืชลงหัวทุกชนิดโดยไม่เกิดอันตราย

ส่วนประกอบสำคัญ
Mixture of Organic Acids and Inert  Ingredients.

ก้าวข้ามมิติ....
การปลุก “มันสำปะหลัง” แบบเดิมๆ เพื่อก้าวเข้าสู่....มิติใหม่ โดยใช้ “นวัตกรรมการเพาะปลูกยุคใหม่” กับ โปรแกรม... “วันเดอร์แลนด์ 30 ตัน” มันเงินล้าน

ขนาดบรรจุ 200 ซีซี

ดูวีดีโอสั่งลงหัวเพิ่มเติม http://www.organellelife.com/vdo_view.php?id=270




  




www.organellelife-vdo.com

======

☎️:084 - 8809595 , 084-3696633
📲Line id :@organellelife.com (พิมพ์ @ด้วยนะครับ)


หรือกดลิงก์ด้านล่าง แล้วเพิ่มเป็นเพื่อน เพื่อคุยสอบถามข้อมูลได้ครับ https://lin.ee/nTqrAvO